Page 131 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 131

122


               เรื่องที่ 1 คุณคาของภาษาไทย

                       ภาษาไทยเปนภาษาที่บงบอกถึงเอกลักษณความเปนไทยมาชานาน ตั้งแตโบราณจนถึงปจจุบัน
               ภาษาไทยเปนภาษาที่สุภาพ ไพเราะ ออนหวานและสิ่งที่สําคัญคือ เปนภาษาที่ใชในการสื่อสารของ

               มนุษยในชีวิตประจําวัน หากมีการพูดภาษาไทยใหถูกตองเหมาะสมตามกาลเทศะแลว จะแสดงถึง

               กิริยามารยาทที่เรียบรอย นอบนอมมีสัมมาคารวะ จะทําใหคนอื่นมีความรักใครในตัวเรา
                       นอกจากนี้ ภาษาไทยยังสามารถนํามาดัดแปลงแตงเปนคํากลอน แตงเปนเพลงไดอยางไพเราะ

               เพราะพริ้ง ทําใหผูฟงหรือใครที่ไดยินแลว เกิดความหลงใหล เพลินเพลินไปกับเสียงเพลงนั้น ๆ  ได
                       ฉะนั้น เพื่อใหผูเรียนเกิดทักษะอยางถูกตองและเหมาะสมในการสื่อสารกับผูอื่นอยาง

               มีประสิทธิภาพ  รูจักแสวงหาความรูและประสบการณ รักการอาน การเขียน การพูด การบันทึกความรู

               และขอมูลขาวสารที่ไดรับ เกิดความภาคภูมิใจในความเปนเจาของภาษาและเห็นคุณคาของบรรพบุรุษที่ได
               สรางสรรคผลงานไว ผูเรียนควรที่จะรูซึ้งถึงคุณคา ตลอดจนรักและหวงแหนภาษาไทย เพื่อใหคงอยูคูกับคนไทย

               ตลอดไป


               เรื่องที่ 2 ภาษาไทยกับชองทางการประกอบอาชีพ

                       ภาษาเปนเครื่องมือในการสื่อสารระหวางผูสงสาร (ผูพูด ผูเขียน) กับผูรับสาร (ผูฟง ดู ผูอาน)

               ที่มนุษยใชในการดําเนินชีวิตประจําวัน โดยเริ่มตั้งแตวัยเด็กที่เริ่มหัดพูด เพื่อสื่อสารกับพอแม พี่นอง
               บุคคลใกลเคียง ตอมาเมื่ออยูในวัยเรียน เริ่มเขาสูระบบโรงเรียนตั้งแตอนุบาล ระดับประถมศึกษา ระดับ

               มัธยมศึกษา ผูเรียนในวัยนี้เริ่มใชภาษาที่มีระบบระเบียบ มีหลักเกณฑการใชภาษาที่สลับซับซอน ยากงาย
               ตามระดับการศึกษา ซึ่งสิ่งที่ผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับภาษาไทยนี้ จะเปนการปูพื้นฐานความรูใหผูเรียน

               มีความรู ความเขาใจ เกิดความซาบซึ้งและมีความคิดสรางสรรคของงานที่เกิดจากการเรียนภาษาไทย

               เชน มีผูเรียนที่เรียนอยูในระดับมัธยมศึกษา แตเปนผูใฝรู  รักการอาน  รักการจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ
               เริ่มจดบันทึกจากสิ่งที่ใกลตัว  คือ การจดบันทึกกิจวัตรประจําวัน จดบันทึกเหตุการณที่ไดประสบพบเห็น

               ในแตละวัน เชน พบเห็นเหตุการณน้ําทวมครั้งยิ่งใหญในกรุงเทพมหานคร พบเห็นชีวิตความเปนอยูของ

               ประชาชนเมื่อประสบภัยน้ําทวม ฯลฯ  โดยผูเรียนคนนี้ปฏิบัติเชนนี้เปนประจําทุก ๆ วัน เมื่อผูเรียนคนนี้
               เปนคนที่ชอบเขียน ชอบบันทึกเรื่องราวตาง ๆ และแทนที่ผูเรียนคนนี้จะจดบันทึกเรื่องราวตาง ๆ และเก็บ

               ไวเปนขอมูลสวนตัวเทานั้น แตผูเรียนคนนี้ จะนําเรื่องราวที่บันทึกไวเผยแพรในเว็บไซต เปนการบอกเลา

               เหตุการณที่ไดประสบพบเห็นมาใหผูอื่นไดรับรู บังเอิญมีสํานักพิมพที่ไดอานผลงานเขียนของผูเรียนคนนี้
               เกิดความ พึงพอใจ และขออนุญาตนําไปจัดพิมพเปนรูปเลมและจัดจําหนาย โดยผูเรียนจะไดรับคาตอบแทน

               ในการเขียนดวย
                       อีกกรณีหนึ่ง ผูเรียนคนหนึ่งเปนนักพูด เวลาโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมหรือมีการจัดงานใด ๆ ก็ตาม

               ผูเรียนคนนี้จะอาสาคอยชวยเหลือโรงเรียนโดยเปนผูประกาศบาง ผูดําเนินกิจกรรมตาง ๆ บาง ซึ่งสิ่งเหลานี้
               จะเปนพื้นฐานใหผูเรียนคนนี้ ไดเรียนรูในระดับที่สูงขึ้น  โดยอาจจะเปนผูทําหนาที่พิธีกร เปนนักจัดรายการ

               วิทยุ เปนนักพากยการตูน ฯลฯ ที่สามารถสรางรายไดใหกับตนเองได
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136