Page 13 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 13

4


                       2.  วิเคราะหเรื่อง จะตองพิจารณาวาเปนเรื่องประเภทใด เปนขาว บทความ เรื่องสั้น นิทานนิยาย
               บทสนทนา สารคดี ละคร และเปนรอยแกวหรือรอยกรอง เปนเรื่องจริงหรือแตงขึ้น ตองวิเคราะหลักษณะ

               ของตัวละคร และกลวิธีในการเสนอสารของผูสงสารใหเขาใจ
                       3.  วินิจฉัยเรื่อง  คือ การพิจารณาเรื่องที่ฟงวาเปนขอเท็จจริง ความรูสึกความคิดเห็นและผูสง

               สารหรือผูพูดผูแสดงมีเจตนาอยางไรในการพูดการแสดง อาจจะมีเจตนาที่จะโนมนาวใจหรือแสดงความคิดเห็น

               เปนเรื่องที่มีเหตุมีผล มีหลักฐานนาเชื่อถือหรือไมและมีคุณคา มีประโยชนเพียงใด

                       สารที่ใหความรู


                       สารที่ใหความรูบางครั้งก็เขาใจงาย  แตบางครั้งที่เปนเรื่องสลับซับซอนก็จะเขาใจยาก  ตองใช

               การพินิจพิเคราะหอยางลึกซึ้ง  ทั้งนี้ยอมขึ้นกับเรื่องที่เขาใจงายหรือเขาใจยาก  ผูรับมีพื้นฐานในเรื่องที่
               ฟงเพียงใด ถาเปนขาวหรือบทความเกี่ยวกับเกษตรกรผูมีอาชีพเกษตรยอมเขาใจงาย ถาเปนเรื่องเกี่ยวกับ

               ธุรกิจนักธุรกิจก็จะไดเขาใจงายกวาผูมีอาชีพเกษตร และผูพูดหรือผูสงสารก็มีสวนสําคัญ ถามีความรูในเรื่อง
               นั้นเปนอยางดีรูวิธีพูดนําเสนอผูฟงก็จะเขาใจไดงาย


                       ขอแนะนําในการฟงและดูที่ใหความรูโดยใชวิจารณญาณ มีดังนี้


                       1.  เมื่อไดรับสารที่ใหความรูเรื่องใดตองพิจารณาวาเรื่องนั้นมีคุณคาหรือมีประโยชน ควรแกการใช

               วิจารณญาณมากนอยเพียงใด

                       2.  ถาเรื่องที่ตองใชวิจารณญาณไมวาจะเปนขาว บทความ สารคดีขาว หรือความรูเรื่องใดก็ตาม

               ตองฟงดวยความตั้งใจจับประเด็นสําคัญใหได ตองตีความหรือพินิจพิจารณาวา ผูสงสารตองการสงสารถึง
               ผูรับคืออะไร และตรวจสอบหรือเปรียบเทียบกับเพื่อน ๆ ที่ฟงรวมกันมาวาพิจารณาไดตรงกันหรือไมอยางไร

               หากเห็นวาการฟงและดูของเราตางจากเพื่อน  ดอยกวาเพื่อน  จะไดปรับปรุงแกไขใหการฟงพัฒนาขึ้น
               มีประสิทธิภาพตอไป

                       3.  ฝกการแยกแยะขอเท็จจริง ขอคิดเห็น เจตคติของผูพูดหรือแสดงที่มีตอเรื่องที่พูดหรือแสดง

               และฝกพิจารณาตัดสินใจวาสารที่ฟงและดูนั้นเชื่อถือไดหรือไม  และเชื่อถือไดมากนอยเพียงใด
                       4.  ขณะที่ฟงควรบันทึกสาระสําคัญของเรื่อง ตลอดทั้งประเด็นการอภิปรายไวเพื่อนําไปใช

                       5.  ประเมินสารที่ใหความรูวา มีความสําคัญมีคุณคาและประโยชนมากนอยเพียงใด  มีแงคิด

               อะไรบาง และผูสงสารมีกลวิธีในการถายทอดที่ดีนาสนใจอยางไร

                       6.  นําขอคิด ความรูและกลวิธีตาง ๆ ที่ไดจากการฟงไปใช ในการดําเนินชีวิตประจําวัน

               การประกอบอาชีพและพัฒนาคุณภาพชีวิต พัฒนาชุมชนและสังคมไดอยางเหมาะสม

                       สารที่โนมนาวใจ


                       สารที่โนมนาวใจเปนสารที่เราพบเห็นประจําจากสื่อมวลชน จากการบอกเลาจากปากหนึ่งไปสู

               ปากหนึ่ง ซึ่งผูสงสารอาจจะมีจุดมุงหมายหลายอยางทั้งที่ดี และไมดี มีประโยชนหรือใหโทษ จุดมุงหมาย
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18