Page 16 - หนังสือเรียนภาษาไทย ม.ปลาย พท.31001
P. 16

7


                         1.2  เนื้อหาของขาวและสารประชาสัมพันธ  ผูรับสารตองพิจารณาวา  สารนั้นมีเนื้อหา
               สมบูรณหรือไม คือเมื่อถามดวยคําถามวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน เมื่อไร อยางไรแลวผูฟงสามารถหาคําตอบได

               ครบถวน และสามารถสรุปสาระสําคัญไดดวย
                         1.3  พิจารณาทบทวนวาเนื้อหาของขาวและสารประชาสัมพันธที่นําเสนอเปนความจริง

               ทั้งหมด หรือมีการแสดงความรูสึก ความคิดเห็นของผูสงสารแทรกมาดวย

                         1.4  พิจารณาภาษาที่ใชทั้งความถูกตองของการใชภาษา ศิลปภาษาและดานวรรณศิลป
                       2.  ละคร ภาพยนตร สารประเภทละครจะฟงไดจากละครวิทยุ และโทรทัศนเสียเปนสวนใหญ

               สวนละครเวทีนั้นมีโอกาสไดดูไดฟงนอยมาก ซึ่งหลักการวิจารณละครมีแนวทาง ดังนี้

                         2.1  ดูความสมจริงของผูแสดงตามบทบาทที่ไดรับวาใชน้ําเสียงสมจริงตามอารมณ ความรูสึก
               ของตัวละครนั้น ๆ มากนอยเพียงใด

                         2.2  พิจารณาโครงเรื่อง  แกนของเรื่องวา  มีโครงเรื่องเปนอยางไร  สรุปสาระสําคัญหรือ

               แกนของเรื่องใหได
                         2.3  ฉากและตัวละคร  มีฉากเหมาะสมสอดคลองกับเนื้อเรื่อง  เหมาะสมกับบรรยากาศ

               และตัวละครแตละตัวมีลักษณะเดนหรือใหอะไรกับผูฟง
                         2.4  ภาษาที่ใชถูกตองเหมาะสมตามหลักการใชภาษา ศิลปะภาษาและดานวรรณศิลป

                       3.  การสนทนาและคําสัมภาษณบุคคล การสนทนาและคําสัมภาษณบุคคลในวิทยุและโทรทัศน

               เปนสารที่ไดฟงกันเปนประจํา  ผูรวมสนทนาและใหสัมภาษณก็เปนคนหลากหลายระดับและอาชีพ
               การสนทนาและ การวิเคราะหมีหลักในการพิจารณา ดังนี้

                         3.1  การสนทนาในชีวิตประจําวัน
                               ก. การสนทนา เปนเรื่องอะไรและมีสาระสําคัญวาอยางไร

                               ข. สาระสําคัญของการสนทนาที่สรุปไดเปนความจริงและนาเชื่อถือเพียงใด

                               ค. ผูรวมสนทนามีความรูและมีความสนใจในเรื่องที่สนทนามากนอยเพียงใด
                               ง.  ภาษาที่ใชในการสนทนามีความถูกตอง  ตามหลักการใชภาษามีความเหมาะสมและ

               สละสลวยทําใหเขาใจเรื่องไดชัดเจนเพียงใด ทั้งน้ําเสียงและลีลาการพูดแฝงเจตนาของผูพูดและนาฟงหรือไม

                         3.2  คําสัมภาษณบุคคล
                               มีหลักเกณฑการพิจารณาและวิจารณ ดังนี้

                               ก. ผูสัมภาษณเปนผูมีความรูและประสบการณในเรื่องที่สัมภาษณมากนอยเพียงใด
               เพราะผูสัมภาษณที่มีความรูและประสบการณในเรื่องที่จะสัมภาษณเปนอยางดีจะถามไดสาระเนื้อเรื่องดี

               จึงตองดูความเหมาะสมของผูสัมภาษณกับเรื่องที่สัมภาษณดวย

                               ข. ผูใหการสัมภาษณเหมาะสมหรือไม โดยพิจารณาจากวุฒิ ฐานะ หนาที่ อาชีพและ
               พิจารณาจากคําตอบที่ใหสัมภาษณวามีเนื้อหาสาระและตอบโตตรงประเด็นคําถามหรือไมอยางไร

                               ค. สาระของคําถามและคําตอบในแตละขอตรงประเด็นหรือไม มีสาระเปนประโยชน
               ตอสังคมมากนอยเพียงใด
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21