Page 81 - คมองานบรหาร_Neat
P. 81
77
ตัวอย่างเช่น ชุมชนบ้านสามขา ชุมชนไม้เรียง เพื่อศึกษาขั้นตอนวิธีการที่ชุมชนดังกล่าวด าเนินการ ตลอดจน
เป็นการกระตุ้นและจุดประกายให้ผู้น าเกิดแนวคิดในการพัฒนาชุมชนของตนเอง
วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมนี้ ใช้กลยุทธ์หลัก 3 ประการ คือ ระลึกอดีต เรียนรู้ปัจจุบัน
เพื่อหยั่งเห็นอนาคต โดยมีเครื่องมือ วิทยากร กระบวนการ กิจกรรมเส้นแบ่งเวลา และผู้น าองค์กรต่าง ๆ
ขั้นตอนที่ 3 ศึกษาพื้นฐานชุมชนด้วยการจัดให้มีเวทีชาวบ้านและร่วมกันค้นหาศักยภาพ
ของชุมชน
ในการจัดท าประชาคม เป็นขั้นตอนของการจัดประชุมเวทีชาวบ้าน รวมทั้งการประชุมกลุ่มย่อย
การปรับแนวคิดของคนในชุมชนให้รู้จักคิดเองท าเอง และการให้โอกาสคนในชุมชนในการพูดน าเสนอ เข้าร่วม
กิจกรรม อาทิ การร่วมกันน าเสนอประวัติศาสตร์ชุมชน การส ารวจ ข้อมูลจัดเก็บข้อมูลครัวเรือน รายรับ
รายจ่าย และการค้นหาศักยภาพทุนของชุมชนในรูปแบบต่าง ๆ กระตุ้นให้ชุมชนเห็นถึงสิ่งที่มีในชุมชน ไม่ใช่
การเน้นให้เห็นว่าชุมชนขาดแคลนสิ่งใด การให้ชุมชนร่วมกันค้นหาองค์ประกอบที่ท าให้ชุมชนสามารถด ารง
อยู่ได้ โดยใช้เวทีประชาคมร่วมกันท าตาราง บัญชี หรือแผนที่ทุนชุมชน จ าแนกตามประเภท อย่างละเอียด เช่น
ทุน บุคคล ปราชญ์ชาวบ้าน ทรัพยากรธรรมชาติ ความรู้ทักษะ ภูมิปัญญา ของชุมชน เป็นต้น
จัดเวทีชาวบ้านเพื่อศึกษาพื้นฐานและค้นหาศักยภาพของชุมชน
วิธีด าเนินการ
ศึกษาข้อมูลพื้นฐานจากหน่วยงานภาครัฐ เจ้าของพื้นที่ เช่น องค์การบริหารส่วนต าบล
สถานีอนามัย โรงเรียน วัด และผู้น าหมู่บ้าน ออกแบบสอบถาม สัมภาษณ์ และออกเยี่ยมเยือนประชาชน
รายครัวเรือน เพื่อรวบรวมข้อมูลมาศึกษา วิเคราะห์หาสาเหตุ และความเป็นไปได้ในการแก้ปัญหาในหมู่บ้าน
ขั้นตอนที่ 4 วิเคราะห์ปัญหาชุมชน
ขั้นตอนนี้เป็นการใช้เวทีประชาคม ให้ชุมชนร่วมกันเสนอปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน อาทิ การทะเลาะ
วิวาทของกลุ่มเด็กวัยรุ่น ปัญหายาเสพติด ปัญหาเศรษฐกิจ และร่วมกันจัดล าดับความส าคัญ ความจ าเป็น