Page 79 - คมองานบรหาร_Neat
P. 79

75

                  อย่างหนึ่งในการต่อสู้กับอาชญากรรมที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหันในสังคม นอกจากนี้ในทางแพ่ง กฎหมาย

                  ก็ก าหนดให้ราษฎรสามารถใช้ก าลังเพื่อป้องกันสิทธิของตน ถ้าพฤติการณ์ไม่สามารถขอให้ศาลหรือเจ้าหน้าที่
                  ช่วยเหลือได้ทันท่วงทีในทันใดได้ (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 451)

                           5. ผู้ช่วยเหลือเจ้าพนักงานเมื่อราษฎรได้รับค าร้องขอจากเจ้าพนักงานผู้จัดการตามหมายจับ ราษฎร

                  ก็มีหน้าที่ตามกฎหมายต้องช่วยเหลือเจ้าพนักงานผู้จับตามสมควรเท่าที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อตนเอง

                  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 82 หรือกรณีที่เจ้าพนักงานได้สั่งการตามอ านาจหน้าที่ให้ช่วย

                  ท ากิจการของเจ้าพนักงานตามกฎหมายก็ต้องปฏิบัติตามค าสั่งหรือค าบังคับนั้น (ประมวลกฎหมายอาญา

                  มาตรา 368)

                           6. การช่วยเหลือผู้ประสบอันตราย กรณีที่ราษฎรพบเห็นผู้อื่นตกอยู่ในภยันตรายแห่งชีวิต ซึ่งตนอาจ
                  ช่วยได้ก็ต้องช่วยตามความจ าเป็น (ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 374)

                           7. การจับกุมผู้ต้องหาหรือจ าเลย (ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 117) กรณีที่

                  ราษฎรเป็นนายประกัน เมื่อผู้ต้องหาหรือจ าเลยมีประกัน หนีหรือจะหลบหนี ราษฎรนั้นมีอ านาจจับกุม ควบคุม

                  ผู้ต้องหาหรือจ าเลยได้เอง

                           8. หน้าที่ของราษฎรตามกฎหมายพิเศษได้แพระราชบัญญัติลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457,
                  พระราชบัญญัติลูกเสือแห่งชาติ พ.ศ.2507, พระราชบัญญัติกองอาสารักษาดินแดน พ.ศ.2494 พระราชบัญญัติ

                  จัดระเบียบบริหารหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง พ.ศ.2522 ฯลฯ



                  ขั้นตอนการปฏิบัติชุมชนเข้มแข็งเพื่อการป้องกันอาชญากรรม
                           การปฏิบัติงานด้านชุมชนเข้มแข็งเพื่อการป้องกันอาชญากรรมนี้ มีหลักการส าคัญคือ ต้องการสร้าง

                  ความเข้มแข็งให้ชุมชน โดยการให้ความส าคัญ กระตุ้นให้ชุมชนได้ตระหนักถึงความเป็นเจ้าของปัญหา

                  และเจ้าของชุมชนที่ต้องร่วมกันแก้ไขปัญหาโดยใช้ศักยภาพและความสัมพันธ์ที่มีในชุมชน มีขั้นตอน

                  การด าเนินงาน 7 ขั้นตอน ดังนี้

                           1. ค้นหาแกนน าและองค์กรท้องถิ่น

                           2. จุดประกายความคิด
                           3. ศึกษาพื้นฐานชุมชน

                           4. วิเคราะห์ปัญหาชุมชน

                           5. ยกร่างกิจกรรมชุมชน

                           6. น ากิจกรรมไปสู่การปฏิบัติ

                           7. ประเมินผล

                           ขั้นตอนที่ 1 ค้นหาแกนน าและองค์กรท้องถิ่น
                           ในขั้นแรกนี้ หลังจากการคัดเลือกหมู่บ้าน/ชุมชุน ที่จะเข้าด าเนินการ หลักส าคัญอยู่ที่การท างาน

                  ร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ต ารวจกับผู้น าหมู่บ้าน/ชุมชน ผู้น าองค์กรส่วนท้องถิ่น เช่น ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน สมาชิก
   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84