Page 98 - คมองานบรหาร_Neat
P. 98
94
2.1 วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานป้องกันปราบปรามอาชญากรรมของหน่วย เพื่อน าไป
ปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป
2.2 ประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคล เพื่อน าไปใช้ในการ
บริหารงานบุคคล การให้ความดีความชอบและการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
2.3 ประเมินความคิดเห็นของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการที่ตอบสนองความต้องการ
3. กรอบการประเมิน
โดยหลักการประเมินผล ผู้บริหารงานป้องกันปราบปรามสามารถประเมินในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่
การประเมินด้าน ประเด็นการประเมิน แหล่งข้อมูล/หลักฐาน
1. ปัจจัยน าเข้า (input) - ก าลังพล, วัสดุอุปกรณ์, อาวุธ - หนังสือสั่งการ ค าสั่ง บันทึกการ
- เป็นการประเมินความพร้อม ยุทโธปกรณ์ เครื่องมือสื่อสาร, ประชุม
ในการปฏิบัติงาน ยานพาหนะ, งบประมาณ - การจัดเก็บข้อมูลในการปฏิบัติ
- ข้อมูลส าหรับการปฏิบัติงาน หน้าที่ แผนการตรวจ การตั้ง ว.43
- การก าหนดแผนการปฏิบัติ แผนระดม
- การซักซ้อมแผนการปฏิบัติ - ตารางการจัดเวรยาม
ฯลฯ - บัญชีสิ่งของหลวง ยานพาหนะ
อาวุธปืน วิทยุสื่อสาร และการ
ตรวจสอบ
- สมุดข้อมูลอาชญากรรม, สถิติ
คดีอาญา, ข้อมูลท้องถิ่น
- เอกสารวิเคราะห์สถานภาพของ
อาชญากรรม
- สมุดบันทึกการรับแจ้งเหตุ ฯลฯ
2. กระบวนการ (process) - การปฏิบัติตามแผนการตรวจ - สมุดตรวจตู้แดง
- เป็นการประเมินว่าได้ - การปล่อยแถวสายตรวจ - แบบรายงานผลการปฏิบัติของ
ปฏิบัติงานตามขั้นตอนแนวทาง - การออกตรวจตามแผนการตรวจ สายตรวจ
ที่ก าหนดหรือไม่ อย่างไร - การควบคุมตรวจสอบสายตรวจ - แบบสรุปรายงานผลการปฏิบัติ
- การปฏิบัติงานชุมชนมวลชน ของสายตรวจ
สัมพันธ์ – ระบบการก้าวสกัดจับ - สมุดควบคุมการปฏิบัติหน้าที่
- ระบบรับแจ้งเหตุ ของสายตรวจ
- การปฏิบัติตามแผนเผชิญเหตุ ฯลฯ - ข้อมูลการตรวจเยี่ยมชุมชน
- แผนการปฏิบัติของชุด ตชส.
- รถบริการเคลื่อนที่ ฯลฯ