Page 86 - หลักการตลาด
P. 86

ม  ิ  ิ        ิ   ม า
             1.       ส     คค  (Personal Factors) ได้แก่

                 1.1 เพศ ผู้ห ิงกับผู้ชำยจะมีพฤติกรรมในกำร ื้อแตกต่ำงกัน กล่ำวคือ ผู้ห ิงส่วนให ่ จะมีควำม

             ละเอียดในกำร ื้อมำกกว่ำผู้ชำย สินค้ำบำงชนิดจะจ ำหน่ำยให้เ พำะเพศเท่ำนั้น
                 1.2 อำยุเด กจะ ื้อสินค้ำเพรำะต้องกำรของแถม วัยรุ่นจะ ื้อสินค้ำตำมแ ชั่นในช่วงเวลำนั้น ผู้ให ่

             จะ ื้อสินค้ำโดยเปรียบเทียบระหว่ำงคุณภำพกับรำคำ ในขณะที่คนชรำจะ ื้อสินค้ำโดยค ำนึงถึง

             ผลกระทบต่อสุขภำพ
                 1.3. สถำนภำพ คนโสดจะ ื้อสินค้ำโดยใช้เหตุผลส่วนตนเป็นหลัก ในขณะที่คนที่มีครอบครัว แล้ว

             จะค ำนึงถึงควำมต้องกำรของสมำชิกในครอบครัวด้วย จนบำงครั้งลืมค ำนึงถึงควำมต้องกำร ของตนเอง

                 1.4 กำรศึกษำ ระดับกำรศึกษำแสดงถึงระดับควำมรู้ของบุคคล คนที่มีกำรศึกษำสูงกว่ำ มักจะ
             พิจำรณำหลำย  ปัจจัยก่อนกำรตัดสินใจ ื้อ ในขณะที่ผู้ที่มีกำรศึกษำน้อยอำจจะใช้ประสบกำรณ์ - หรือ

             ควำมต้องกำรส่วนตนเป็นหลัก

                 1.5 อำชีพ กำรประกอบอำชีพที่ต่ำงกัน ย่อมส่งผลต่อพฤติกรรมกำร ื้อได้เช่นกัน โดยเ พำะ สินค้ำที่
             มีควำมเกี่ยวข้องกับอำชีพ ช่ำงจะ ื้อเครื่องมือช่ำงเพื่อกำรประกอบอำชีพ ในขณะที่ครูจะ  ื้ออุปกรณ์

             หรือสื่อที่จะใช้ส ำหรับกำรสอนหนังสือ

                 1.6 รำยได้รำยได้ของผู้บริโภคแสดงถึงอ ำนำจในกำร ื้อสินค้ำหรือบริกำรเพรำะ ะนั้นสินค้ำ คุณภำพ
             ดีรำคำสูง ควรจะเจำะจงไปยังกลุ่มที่มีรำยได้สูง ในขณะที่คนที่มีรำยได้ต่ ำ ควรจะเสนอสินค้ำ ที่คุณภำพ

             ไม่สูงนัก และรำคำควรจะถูกเป็นพิเศษ

             2.         า  ิ  ิ  า (Psychological Factors) ประกอบด้วย
                 2.1 กำรจูงใจ (Motivation) ผู้บริโภค ื้อสินค้ำเนื่องมำจำกแรงจูงใจที่แตกต่ำงกันหลำยอย่ำง ถ้ำ

             พิจำรณำจำกทฤษ ีแรงจูงใจของมำสโลว์ จะพบว่ำควำมต้องกำรของมนุษย์มี 5 ระดับ ได้แก่

                    1) ควำมต้องกำรด้ำนร่ำงกำย เช่น หิว กระหำย
                    2) ควำมต้องกำรด้ำนควำมปลอดภัย

                    3) ควำมต้องกำรด้ำนสังคม เช่น ควำมผูกพัน ควำมรัก

                    4) ควำมต้องกำรได้รับกำรยอมรับ
                    5) ควำมต้องกำรประสบควำมส ำเร จสูงสุดในชีวิต

                 2.2 กำรรับรู้ (Perception) ผู้บริโภคจะมีกำรรับรู้เรื่องรำวต่ำง   ในระดับที่แตกต่ำงกัน เรื่องรำว ที่

             รับรู้มำจะถูกเก บสะสมไว้เพื่อใช้ประกอบกำรตัดสินใจ ื้อ สิ่งที่รับรู้ได้อำจจะมำจำกกำรโ ษณำ ค ำบอก
             เล่ำ กำรได้ยิน กำรอ่ำน เมื่อผู้บริโภครับรู้แตกต่ำงกัน จะส่งผลต่อกำรตัดสินใจ ื้อที่แตกต่ำงกัน




                                                                                 86


                                                     79
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91