Page 190 - โครงการการจัดการเอกสาร
P. 190

178


                      1. เมื่อได้รับค าสั่งให้เก็บเอกสาร ให้ตรวจดูบัตรที่หน้าลิ้นชักว่ามี


        ช่องอักษรตั้งแต่อักษรใดถึงอักษรใด ก็เปิดสิ้นชักนั้นออกตามตัวอักษรของ

        เอกสารที่จะเก็บ


                      2. ตู้บัตรน าหลักที่น าเอกสารตามตัวอักษรที่จะเก็บ

                      3 ถ้าเอกสารนั้นไม่มีแฟ้มเฉพาะ ก็ให้น่าเอกสารนั้นใส่ไว้ในแฟ้ม


        เบ็ดเตล็ดที่อยู่ท้ายแฟ้มเฉพาะในช่องอักษรเดียวกันนั้น


                      4. แต่ถ้าเอกสารฉบับนั้นมีหน่วยเก็บที่มีแฟ้มเฉพาะแล้ว ก็น าเก็บ

        ในแฟ้มเฉพาะในกรณีที่จะค้นเอกสาร ก็คงต้องปฏิบัติเช่นเดียวกันกับการ


        น าเข้าเก็บ เมื่อเอกสารที่จะค้นไม่มีแฟ้มเฉพาะ ก็แสดงว่าเอกสารจะต้องอยู่

        ในแฟ้มเบ็ดเตล็ดที่วางอยู่หลังแฟ้มเฉพาะนั้นในช่องอักษรเดียวกัน แฟ้ม


        ทั้งหมดจะวางไว้ในสิ้นชักตู้เก็บเอกสารชนิด 4 ลิ้นชัก เป็นตู้ที่เหมาะสมที่สุด


        จะเห็นว่า การเก็บเอกสารตามตัวอักษรเป็นการเก็บค้นได้โดยง่าย สะดวก

        รวดเร็ว เหมาะส าหรับหน่วยงานขนาดกลางดั้งได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น


        7.6.2 กำรเก็บเลกสำรตำมภูมิศำสตร์หรือภูมิภำค

                      การเก็บเอกสารตามภูมิศาสตร์หรือภูมิภาค จะเหมาะสมกับ


        หน่วยงานที่ประสงค์จะแบ่งเอกสารของลูกค้าออกตามสาขาหรือพื้นที่ต่างๆ


        เช่น แบ่งเป็นเขต ภูมิภาค จังหวัด หรือท้องถิ่นต่างๆ หรือแม้แต่แบ่งเป็น

        ประเทศอีกด้วยธุรกิจหรือหน่วยงานที่เหมาะสมกับการจัดเก็บเอกสารตาม


        ภูมิศาสตร์หรือภูมิภาคนี้ ก็คือ หน่วยงานที่ประกอบธุรกิจ ไปรษณีย์ ขนส่ง

        การค าต่างประเทศ บริษัทขนส่ง หรือธุรกิจที่แบ่งเขตการติดต่อเป็นส าคัญ


        หลักของการใช้บัตรน าเขตธุรกิจก็คือ สถานที่ที่ใหญ่ที่สุดในกรณีหน่วยงาน


        ประสงค์จะแบ่งเขตติดต่อภายในประเทศ จะต้องจัดบัตรน าหลักเป็นชื่อ

        จังหวัดบัตรน้ ารองเป็นชื่ออ าเภอ แฟ้มเบ็ดเตล็ดเป็นชื่ออ าเภอตามด้วย


        รายชื่อห้างร้านหรือบุคคลเป็นแฟ้มเฉพาะ
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195