Page 5 - บทที่1
P. 5

จากรูปที่ 1-1 เป็นการหาต าแหน่งของรอยโรคจากความผิดปกติที่ได้จากประวัติที่จะใช้เป็นข้อมูล

               จากนั้นในตารางที่ 1-1 จะใช้ลักษณะอาการและอาการแสดงที่จ าเพาะในการแยกต าแหน่งของรอยโรค

               ระหว่างระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายที่ได้จากการตรวจร่างกายมาพิจารณาร่วมด้วย


                                ตารางที่ 1-1 แสดงความแตกต่างของอาการและอาการแสดงในระบบประสาท

                               ต าแหน่งรอยโรค


                                                   ระบบประสาทส่วนกลาง             ระบบประสาทส่วนปลาย


                 อาการ


                 /อาการแสดง


                 ลักษณะอ่อนแรง                             แข็งเกร็ง                   อ่อนปวกเปียก


                 (Weakness)                                (spastic)                      (flaccid)


                 ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (Tone)            เพิ่มขึ้น                       ลดลง


                 การฝ่อของกล้ามเนื้อ                 มักไม่พบในระยะแรก               มักพบในระยะแรก


                 (Atrophy)


                 การตอบสนองของรีเฟล็กซ์ (Reflex)           เพิ่มขึ้น                       ลดลง


                 การสั่นพลิ้วของกล้ามเนื้อ                  ไม่พบ                           พบ

                 (Fasciculation)


                 การตอบสนองเมื่อท าการกระตุ้นที่           Positive                       Negative
                 ฝ่าเท้า (Babinski’s sign*)



                 *Babinski’s sign เป็นการตรวจร่างกายโดยใช้วัตถุปลายทู่ขูดกระตุ้นบริเวณฝ่าเท้าจากนั้นสังเกตการตอบสนองของ

               นิ้วเท้า หากพบว่ามีการกระดกขึ้นของนิ้วหัวแม่เท้า (dorsiflexion) ร่วมกับการกางออกของนิ้วเท้าที่เหลือแสดงว่าการตรวจ
               นั้นให้ผลบวก (positive) ซึ่งเป็นการแสดงถึงความผิดปกติของพยาธิสภาพที่บริเวณ corticospinal tract







                                                                                  สราวุธ สุขสุผิว_ภาคการศึกษาที่ 3/2560
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10