Page 366 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 366
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๘
หมวด ๑ การได้มาซึ่งกรรมสิทธิ์ หมวด ๒ แดนกรรมสิทธิ์และการใช้กรรมสิทธิ์ หมวด ๓
กรรมสิทธิ์รวม คดีที่อ้างกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์โดยการครอบครองปรปักษ์ คดีฟ้อง
บังคับให้ส่งมอบอสังหาริมทรัพย์ โดยอ้างกรรมสิทธิ์หรือสิทธิตามสัญญา รวมทั้งคดีที่อ้างสิทธิ
ความเป็นเจ้าของในที่ดินที่ไม่มีโฉนด หรือที่ดินมือเปล่าซึ่งมีแต่เพียงสิทธิครอบครอง
คดีฟ้องขับไล่ผู้เช่า ผู้อาศัย เมื่อจ าเลยขาดนัดยื่นค าให้การจึง ไม่มีข้อโต้แย้ง
เรื่องกรรมสิทธิ์ คดีฟ้องบังคับจ านองอสังหาริมทรัพย์ คดีฟ้องขอให้เปิดทางภาระจ ายอม
คดีฟ้องเรียกโฉนดที่ดินจากผู้ที่ไม่มีสิทธิยึดถือไว้เหล่านี้ มิใช่คดีพิพาทเกี่ยวด้วยกรรมสิทธิ์
ในอสังหาริมทรัพย์
๗. คดีที่โจทก์มีค าขอบังคับให้ช าระหนี้เป็นเงินจ านวนแน่นอน ได้แก่ คดีที่โจทก์
ฟ้องบังคับให้จ าเลยช าระหนี้ตามสัญญากู้ ค ้าประกัน จ านอง ตั๋วเงิน ชื้อขาย เช่าทรัพย์
บัตรเครดิต บัญชีเดินสะพัด
ส่วนคดีที่โจทก์มีค าขอบังคับให้ช าระหนี้เป็นเงินอันไม่อาจก าหนดจ านวนได้
โดยแน่นอน ได้แก่ คดีที่โจทก์ฟ้องเรียกค่าเสียหายในมูลละเมิด หรือผิดสัญญาหรือเรียกเบี้ยปรับ
กรณีเป็นคดีที่มีค าขอให้ช าระหนี้ที่เป็นเงินจ านวนแน่นอนและไม่อาจก าหนด
จ านวนได้โดยแน่นอนรวมกันมา ศาลควรสั่งให้โจทก์ส่งพยานเอกสารและสืบพยานโจทก์ไป
ฝ่ายเดียวส าหรับหนี้เงินอันไม่อาจก าหนดจ านวนได้โดยแน่นอน
๘. ในวันนัดสืบพยานโจทก์ตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ ถ้าจ าเลยทราบนัดโดยชอบ
แต่ไม่มาศาล หากศาลสืบพยานโจทก์ไม่เสร็จหรือมีเหตุต้องเลื่อนคดีไปอันเนื่องมาจากโจทก์
ศาลต้องหมายแจ้งวันนัดสืบพยานโจทก์ (ฝ่ายเดียว) ที่เลื่อนมาให้จ าเลยทราบโดยวิธีปิดประกาศ
หน้าศาลหรือจะมีค าสั่งให้โจทก์น าส่งหมายแจ้งวันนัดให้จ าเลยทราบก็ได้
๓. การพิพากษาหรือมีค าสั่งชี้ขาดคดีโดยขาดนัดยื่นค าให้การ ในคดีที่มีจ าเลยหลายคน
(มาตรา ๑๙๘ ตรี)
๓.๑ ในคดีที่มีจ าเลยหลายคน การขาดนัดยื่นค าให้การเป็นไปเฉพาะตัวจ าเลยแต่ละคน
จ าเลยคนหนึ่งจะยื่นค าให้การเพื่อจ าเลยอีกคนหนึ่งไม่ได้ และจะถือเอาค าให้การของจ าเลยอีกคนหนึ่ง
มาเป็นค าให้การของตนไม่ได้ ( ฎีกาที่ ๒๔๗๔/๒๕๓๐, ๔๗๑๕/๒๕๓๐, ๑๕๓๔/๒๕๓๖ )
๓.๒ คดีที่มีจ าเลยหลายคน เหตุที่ศาลจะมีค าสั่งจ าหน่ายคดีออกเสียจากสารบบความ
เพราะโจทก์ไม่ได้ยื่นค าขอให้ศาลมีค าพิพากษาหรือค าสั่งชี้ขาดให้โจทก์เป็นฝ่ายชนะคดีโดยขาดนัด
ตามมาตรา ๑๙๘ วรรคสอง ไม่จ าต้องเกิดขึ้นแก่จ าเลยทุกคนในคดีเสมอไป กรณีอาจเกิดขึ้นแก่จ าเลย
เป็นรายบุคคลก็ได้ ในกรณีที่เหตุดังกล่าวเกิดขึ้นแก่จ าเลยในคดีเป็นรายบุคคล ศาลจะมีค าสั่งให้