Page 367 - คู่มือตุลาการ เล่มที่ 1 วิ.แพ่ง มีสารบัญ ebook
P. 367
คู่มือปฏิบัติราชการของตุลาการ ส่วนวิธีพิจารณาความแพ่ง ๓๓๙
จ าหน่ายคดีเฉพาะจ าเลยรายที่โจทก์ไม่ยื่นค าขอต่อศาลภายในก าหนดเวลาดังกล่าวเท่านั้นเพราะถือว่า
โจทก์ไม่ประสงค์จะด าเนินคดีแก่จ าเลยรายนั้นต่อไป ศาลจะสั่งจ าหน่ายคดีทั้งคดีออกเสียจาก
สารบบความหาได้ไม่ ( ฎีกาที่ ๖๐๕๓/๒๕๓๙ )
๓.๓ คดีที่มีจ าเลยหลายคน จ าเลยบางคนขาดนัดยื่นค าให้การ ศาลจะต้องด าเนินกระบวน
พิจารณาแบบการพิจารณาและพิพากษาโดยขาดนัดยื่นค าให้การ ส่วนจ าเลยที่ยื่นค าให้การ
ศาลจะต้องด าเนินกระบวนพิจารณาโดยวิธีพิจารณาแบบสามัญ ซึ่งจ าเลยที่ยื่นค าให้การนี้อาจจะ
มีการขาดนัดพิจารณาได้
๓.๔ คดีที่มีจ าเลยหลายคนและจ าเลยบางคนขาดนัดยื่นค าให้การ แบ่งออกได้ ๒ กรณี
ก. กรณีมูลความแห่งคดีนั้นเป็นการช าระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันได้
(๑) หากคดีที่จ าเลยบางคนขาดนัดยื่นค าให้การนั้น ไม่มีการสืบพยานหรือ
โจทก์ไม่ต้องส่งเอกสารแทนการสืบพยาน ศาลมีอ านาจพิพากษาหรือมีค าสั่งชี้ขาดคดีโดยขาดนัด
ระหว่างโจทก์กับจ าเลยที่ขาดนัดยื่นค าให้การตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ ไปก่อน และด าเนินการพิจารณาคดี
ระหว่างโจทก์กับจ าเลยที่ยื่นค าให้การต่อไปโดยวิธีพิจารณาแบบสามัญ (มาตรา ๑๙๘ ตรี วรรคหนึ่ง
ตอนต้น)
(๒) เพื่อความสะดวกในการพิจารณา ควรออกเลขคดีแดงในส านวนเดิม
และแยกถ้อยค าส านวนในคดีที่จ าเลยยื่นค าให้การไปตั้งส านวนใหม่โดยออกเลขคดีด าใหม่
ซึ่งเป็นเรื่องการจัดการส านวนคดีในทางธุรการของศาล ( เทียบฎีกาที่ ๘๑๑/๒๕๓๘)
(๓) ถ้าคดีที่จ าเลยบางคนขาดนัดยื่นค าให้การนั้นจะต้องมีการสืบพยานโจทก์
ไปฝ่ายเดียวตามมาตรา ๑๙๘ ทวิ วรรคสองหรือวรรคสามแล้ว ศาลก็ต้องด าเนินการสืบพยานไป
ตามบทบัญญัติของมาตรา ๑๙๘ ทวิ และหากจ าเลยที่ขาดนัดยื่นค าให้การนี้ไม่มาศาลในวัน
สืบพยานโจทก์ก็ไม่ถือว่าจ าเลยนี้ขาดนัดพิจารณา
ข. กรณีมูลความแห่งคดีนั้นเป็นการช าระหนี้ซึ่งแบ่งแยกจากกันมิได้ เช่น คดีที่โจทก์
ฟ้องจ าเลยหลายคนให้ร่วมกันรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม คดีที่โจทก์ฟ้องลูกหนี้ชั้นต้นกับ
ผู้ค ้าประกัน คดีที่โจทก์ฟ้องให้จ าเลยที่ ๑ ซึ่งเป็นลูกจ้างและจ าเลยที่ ๒ ซึ่งเป็นนายจ้างให้ร่วมรับผิด
ในมูลละเมิดที่ลูกจ้างได้กระท าไปในทางการที่จ้าง
(๑) ศาลจะต้องรอการพิพากษาคดีระหว่างโจทก์กับจ าเลยที่ขาดนัดยื่น
ค าให้การไว้ก่อน และด าเนินการพิจารณาส าหรับจ าเลยที่ยื่นค าให้การตามวิธีพิจารณาแบบสามัญ
หรือพิจารณาคดีโดยขาดนัดพิจารณา หากมีกรณีที่คู่ความไม่มาศาลในวันสืบพยาน แล้วมี
ค าพิพากษาหรือค าสั่งชี้ขาดคดีส าหรับจ าเลยทุกคน