Page 194 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 194
หน้า ๑๘๒ ส่วนที่ ๓
ื่
ิ
ดังนั้น ในล าดับแรกคณะกรรมาธิการควรจะน ามาพจารณาเบื้องต้น เพอให้ได้รับทราบข้อมูลและก าหนด
แนวทางการพิจารณาในภายหลังต่อไป
๒. พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. ๒๕๕๘ ได้ก าหนดให้มีคณะกรรมการ
วินิจฉัยการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ เรียกโดยย่อว่า คณะกรรมการ วลพ. เป็นหน่วยงาน
ิ
หลักในการพจารณาวินิจฉัยปัญหาที่มีการยื่นค าร้องว่ามีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศตาม
มาตรา ๑๘ แต่กรณีนี้ผู้ร้องไม่ได้มีการยื่นเรื่องไปยังคณะกรรมการชุดดังกล่าว ซึ่งไม่ทราบเหตุผลว่าเพราะเหตุใด
คณะกรรมาธิการจึงอาจมอบหมายให้ฝ่ายเลขานุการได้ไปประสานกับผู้ร้องเพอให้ได้ทราบข้อมูลเพมเติม
ื่
ิ่
ส าหรับใช้ประกอบการพิจารณาของคณะกรรมาธิการในเรื่องนี้
๓. กรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ในฐานะที่เป็นฝ่ายเลขานุการที่มีหน้าที่รับผิดชอบ
ื่
งานธุรการและงานวิชาการของคณะกรรมการ วลพ. นั้น คณะกรรมาธิการควรเชิญเข้าร่วมหารือ เพอหา
แนวทางในการยื่นเรื่องหรือด าเนินการส่งต่อเรื่องให้เข้าสู่กระบวนการหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรง
เนื่องจากข้อเรียกร้องในลักษณะนี้ได้มีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นปัญหาในเชิงโครงสร้าง ไม่ใช่เป็นเพียงกรณีของ
แต่ละบุคคลเท่านั้น
๔. ในประเทศไทยกลุ่มคนข้ามเพศมักจะถูกกีดกัน ทั้งในเรื่องสังคมและอาชีพ แม้จะพยายาม
ผลักดันตนเองทั้งในเรื่องของการศึกษาและความสามารถ แต่ก็ยังไม่เป็นที่ยอมรับเท่าที่ควร จนท าให้หลายคน
ต้องไปหางานท าที่ต่างประเทศทั้งที่ไม่ได้อยากไป ซึ่งจะเห็นว่าเรื่องการถูกกีดกันมีเกิดขึ้นในทุกที่ รวมถึง
กรณีนี้ที่ผู้ร้องเป็นคนข้ามเพศ ที่ไม่เพียงจิตส านึกเป็นผู้หญิง แต่ร่างกายก็ได้มีการปรับเปลี่ยนเป็นผู้หญิงแล้ว
จึงได้พยายามเรียกร้องให้มีการปฏิบัติตรงตามที่ตนเองเป็น
ิ
๕. การพจารณาศึกษาของคณะกรรมาธิการในเรื่องนี้ ระยะแรกควรต้องเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับการใช้ระเบียบและแนวทางปฏิบัติเรื่องเครื่องแต่งกายมาให้ข้อมูลต่อคณะกรรมาธิการเพอหาแนวทาง
ื่
ื่
ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าให้ได้ก่อน ส่วนในระยะต่อไปจ าเป็นต้องมีการร่างกฎหมายเพอใช้เป็นแนวทาง
ปฏิบัติในการรับรองการแสดงออกทางเพศสภาพที่เสมอกัน
ิ
เมื่อได้พจารณาแล้ว เห็นว่าเรื่องดังกล่าวมีความละเอียดและอ่อนไหว จ าเป็นต้องพจารณา
ิ
อย่างรอบคอบโดยผู้ทรงวุฒิที่มีประสบการณ์ จึงมอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการด าเนินการต่อไป