Page 197 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 197
ส่วนที่ ๓ หน้า ๑๘๕
๕. สภากาชาดไทยและทุกภาคส่วนของสังคมต้องสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับเพศสภาพ เพศวิถี
ื่
ั
อัตลักษณ์ทางเพศ บุคคลข้ามเพศ หรือกลุ่มบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ เพอเป้าหมายพฒนา
การท างานและบริการของบุคลากรทางการแพทย์
๖. สภากาชาดไทยและกระทรวงสาธารณสุขควรท างานร่วมกันภายใต้หลักการ Blood Donor
Selection. Guidelines on Assessing Donor Suitability for Blood Donation 2012 เป็นแนวทางในการปฏิบัติ
แต่ขณะเดียวกันก็สามารถใช้วิธีการอื่นที่มีประสิทธิภาพสูงกว่าที่ก าหนดไว้ เพื่อเป้าหมายความปลอดภัยสูงสุด
๗. สภากาชาดไทยควรใช้ข้อมูลพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ์ในระดับบุคคล (Individual sexual
behavior) ซึ่งมีความเป็นไปได้ที่จะช่วยเพิ่มจ านวนผู้บริจาคโลหิตมากขึ้น
๘. กระทรวงยุติธรรมและกระทรวงสาธารณสุข ควรเตรียมการศึกษากฎหมายเกี่ยวกับ Blood
ื่
Law เพอรองรับสถานการณ์ทางสังคมในภาวะวิกฤติความมั่นคงของมนุษย์ที่ต้องการโลหิตจ านวนมาก ซึ่งหาก
จะต้องมีกฎหมายดังกล่าว ให้กระท าเป็นพระราชบัญญัติที่ต้องผ่านการพิจารณาของรัฐสภา
การพิจารณาของคณะกรรมาธิการ ได้เชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล ดังนี้
๑. สภากาชาดไทย
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เป็นองค์กรการกุศล ยึดหลักการกาชาดสากลใน
์
การช่วยเหลือเพอนมนุษย์โดยไม่เลือกปฏิบัติและขอยืนยันว่า เกณฑการคัดกรองรับบริจาคโลหิตก าหนด
ื่
ิ
โดยพจารณาจากพฤติกรรมที่มีความเสี่ยงไม่ว่าจะเป็นเพศใดก็ตาม โดยจะของดรับบริจาคโลหิตถาวร
เช่นเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อให้โลหิตที่ส่งต่อไปยังผู้ป่วยมีมาตรฐานความปลอดภัยสูงสุด
กรณีการร้องเรียนขอสิทธิในการบริจาคโลหิตของผู้มีความหลากหลายทางเพศนั้น เป็นที่
ั
รับทราบด้วยความเข้าใจและเห็นใจของศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย มาโดยตลอดด้วยพนธกิจ
และปณิธานของสภากาชาดไทยมุ่งมั่นในการดูแลประชาชนด้วยความเอื้ออาทรตามหลักการกาชาดสากล
เคารพสิทธิมนุษยชนอย่างเท่าเทียมโดยไม่เลือกปฏิบัติ ทั้ง เพศ วรรณะ และเชื้อชาติ โดยเฉพาะในช่วงที่มี
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์การรับบริจาคโลหิตประชากรกลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (men who have sex
with men, MSM) ในต่างประเทศช่วง ๑๐ ปีที่ผ่านมา ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยได้ติดตาม
ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ของทั่วโลก เพอน ามาพฒนาให้ทันต่อเหตุการณ์ส าหรับประเทศไทย
ั
ื่
ซึ่งตามหลักขององค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) นั้น แต่ละประเทศจะต้องรับผิดชอบ
คัดกรองความปลอดภัยของโลหิตบริจาค เพื่อให้ได้โลหิตที่มีความปลอดภัยสูง โดยอาศัยข้อมูลสาธารณสุข
ด้านการติดเชื้อ การระบาดของโรค และการควบคุมโรคในประเทศของตนเป็นส าคัญ สถิติที่ต้องค านึงถึง
และน ามาประกอบการตัดสินใจคือ ความชุกของโรคเอชไอวีในประชากรทั่วไป ความชุกของผู้มีเชื้อเอชไอวี
ในโลหิตของผู้บริจาคโลหิตครั้งแรกและในโลหิตของผู้บริจาคประจ ารวมถึงผลกระทบจากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น
รวมทั้งการประเมินพฤติกรรมและเจตคติด้านสังคม
สืบเนื่องจากประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา อังกฤษ ยุโรป ออสเตรเลีย และบางประเทศ
ิ
ในกลุ่มเอเชียแปซิฟก มีระบบสาธารณสุขและมาตรการต่าง ๆ ที่ท าให้สามารถลดอัตราการติดเชื้อทาง
เพศสัมพนธ์ลงได้ ส่งผลให้อัตราการพบเชื้อเอชไอวีในโลหิตบริจาคต่ ากว่า ๑/๑๐๐,๐๐๐ คน ประเทศเหล่านั้น
ั
ั
จึงเริ่มปรับลดระยะเวลาการงดบริจาคโลหิตของกลุ่มชายที่มีเพศสัมพนธ์กับชาย (men who have sex
with men, MSM) จากงดบริจาคถาวรเป็น ๕ ปี - ๑ ปี - ๖ เดือน และ ๓ เดือน ตามล าดับ ซึ่งจะใช้เวลา
๕ - ๖ ปี ในการพิจารณาปรับแต่ละช่วง ติดตามด้วยการวิจัยเชิงลึก ทั้งด้านความเสี่ยงสาธารณสุข ด้านพฤติกรรม
ื่
ด้านสังคม และผลกระทบในทุกมิติ เพอยืนยันความปลอดภัยของโลหิตที่จะน าไปให้ผู้ป่วย ส าหรับประเทศไทย