Page 195 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 195

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๘๓



                                พิจารณาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายความเป็นธรรมทางเพศสภาพ

                                      จากมูลนิธิเครือข่ายเพื่อนกะเทยเพื่อสิทธิมนุษยชน


                           คณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการ กลุ่มชาติพันธุ์ และผู้มีความหลากหลาย
                                                             ื่
                                                                                        ื่
               ทางเพศ ได้รับหนังสือร้องเรียนจากมูลนิธิเครือข่ายเพอนกะเทยเพอสิทธิมนุษยชน เพอขอให้คณะกรรมาธิการ
                                                                        ื่

               พจารณาและด าเนินการตามข้อเสนอแนะเชิงนโยบายความเป็นธรรมทางเพศสภาพ โดยมีสาระสาคัญสรุปได้
                 ิ
               ดังนี้
                           ๑. การรับรองเพศสภาพ เนื่องจากประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายรับรองสถานะทางเพศ รวมทั้ง
               ยังมีอคติและการเลือกปฏิบัติต่อกลุ่มคนข้ามเพศ ท าให้บุคคลข้ามเพศไม่สามารถเปลี่ยนค าน าหน้าชื่อ
               ให้สอดคล้องกับรูปลักษณ์ภายนอกของตนเองได้ จึงมีข้อเสนอแนะว่า ให้มีการปรับปรุงกฎหมายค าน าหน้านาม
               และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เพอให้คนข้ามเพศสามารถเปลี่ยนค าน าหน้านามได้ตามเพศสภาพ อีกทั้งเพอให้
                                        ื่
                                                                                                         ื่
               เกิดการคุ้มครองและรับรองเพศสภาพของคนข้ามเพศ
                           ๒. ด้านการศึกษา ด้วยคนข้ามเพศในสถาบันการศึกษาต่าง ๆ เคยถูกล่วงละเมิดทางเพศ
               หรือกระท าความรุนแรงทางร่างกายและวาจาเนื่องจากอัตลักษณ์ จึงมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบายต่อกระทรวง

               ศึกษาธิการว่าต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลถึงอุดมศึกษา
               ในด้านสิทธิมนุษยชนและสิทธิทางเพศ เพื่อให้เกิดความเคารพในสิทธิและความแตกต่างของแต่ละบุคคล
                           ๓. ด้านสุขภาพและสาธารณสุข เนื่องจากร้อยละ ๔๘ ของบุคคลข้ามเพศยังคงไม่ได้รับ

               ค าปรึกษาจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการแปลงเพศหรือการดูแลสุขภาพของคนข้ามเพศ รวมถึงยังขาด
               ความรู้เรื่องสุขภาพเฉพาะกลุ่มของบุคคลข้ามเพศ จึงมีข้อเสนอแนะว่าให้มีการพัฒนาความรู้ทางการแพทย์
               และกระบวนการวินิจฉัย โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านจิตเวชให้สอดคล้องกับนานาชาติบนพนฐานของสิทธิมนุษยชน
                                                                                        ื้
               และสิทธิทางเพศ รวมถึงปรับปรุงให้กระบวนการข้ามเพศ อาทิ การให้ค าปรึกษา การผ่าตัดแปลงเพศ
               การใช้ฮอร์โมนต่าง ๆ อยู่ในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
                           ๔. ด้านการจ้างงาน ด้วยกลุ่มบุคคลข้ามเพศเป็นกลุ่มที่ต้องเผชิญกับการถูกปฏิเสธการรับเข้า

               ท างานเนื่องจากอัตลักษณ์ทางเพศ จึงมีข้อเสนอแนะต่อกระทรวงแรงงานว่าควรมีการปรับปรุงกฎระเบียบ
               เกี่ยวกับการลางานเพื่อเข้ารับการบริการข้ามเพศ ให้สามารถลางานได้โดยได้รับค่าจ้างตามปกติ
                           ๕. ด้านสื่อสารมวลชน เนื่องจากบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศเป็นกลุ่มเพศภาวะ

               ที่สื่อมวลชนให้ความสนใจ และมีการน าเสนอข่าวเพมมากขึ้น แต่มักเป็นการเสนอข่าวในเชิงล้อเลียน
                                                               ิ่
               จึงมีข้อเสนอแนะไปยังคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมว่าควร
               ปรับปรุงจรรยาบรรณสื่อมวลชนให้เคารพความหลากหลายทางเพศ ไม่น าเสนอภาพ มายาคติ และสร้าง

               ความเกลียดชัง
                           ที่ประชุมได้พิจารณาแล้ว เห็นว่าข้อเสนอดังกล่าวมีความละเอียดอ่อน จ าเป็นต้องอาศัยความรู้
               ความเข้าใจ โดยความร่วมมือจากผู้ทรงวุฒิ มีประสบการณ์ด้านนี้โดยเฉพาะ มีมติมอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการ

                                                                                          ิ
               เพื่อพจารณาศึกษาปัญหาด้านเด็ก เยาวชน สตรี และผู้มีความหลากหลายทางเพศ พจารณาศึกษาในเรื่อง
                    ิ
               ดังกล่าวต่อไป
                           อย่างไรก็ตาม การด าเนินการพิจารณาศึกษาเรื่องดังกล่าวนี้ คณะกรรมาธิการได้จัดท าเป็นเป็น

                               ิ
               รายงานผลการพจารณา และยกร่างกฎหมายประกอบด้วยข้อสังเกต ส่งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพอ
                                                                                                           ื่
               ด าเนินการต่อไป
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200