Page 198 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 198

หน้า ๑๘๖                                                                             ส่วนที่ ๓



               ในปัจจุบัน (๒๕๖๓ - ๒๕๖๔) สถิติการพบเชื้อเอชไอวีในโลหิตบริจาคของผู้บริจาคครั้งแรกเท่ากับ ๑๓๐/

               ๑๐๐,๐๐๐ คน และในผู้บริจาคประจ าเท่ากับ ๔๐/๑๐๐,๐๐๐ คน หากเทียบกับนานาประเทศ จะพบว่า
               โลหิตบริจาคของประเทศไทยมีเชื้อเอชไอวีสูงกว่าประเทศสหรัฐอเมริกา ๑๔ - ๒๗ เท่า แคนาดา ๖๕ - ๒๐๐ เท่า

               กลุ่มประเทศยุโรปตะวันตก ๒๒ - ๗๒ เท่า สิงคโปร์ ไต้หวัน มาเก๊า เกาหลีใต้ ฮ่องกงและญี่ปุ่น ประมาณ
               ๑๐ - ๘๐ เท่า ส่วนอัตราการติดเชื้อของประชากรชายรักชายในเขตกรุงเทพมหานครพบว่า สูงถึงกว่าร้อยละ ๓๐
                             จากสถิติดังกล่าว ซึ่งเป็นส่วนส าคัญในการวิเคราะห์และวิจัยก่อนการปรับนโยบายเกณฑ ์

               การคัดกรองผู้บริจาคโลหิต ท าให้ที่ประชุมของผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิด้านงานบริการโลหิต (Transfusion
               Medicine) จากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ของประเทศลงความเห็นว่า ยังไม่ถึงเวลาที่ประเทศไทยจะสามารถ

                            ์
               ปรับลดเกณฑการรับบริจาคโลหิตในประชากรที่มีความเสี่ยงของการติดเชื้อสูงนี้ได้ ซึ่งมิใช่การเลือกปฏิบัติ
               หรือการตีตราแต่อย่างใด กรณีชายจิตใจเป็นหญิงที่ไม่มีประวัติเพศสัมพันธ์กับชายหรือกรณีหญิงรักหญิงนั้น
                                                      ์
               ก็สามารถบริจาคโลหิตได้ ซึ่งแสดงถึงเกณฑที่มิได้เลือกปฏิบัติกับผู้มีความหลากหลายทางเพศ หากแต่เป็น
               การยึดพฤติกรรมทางเพศที่มีความเสี่ยงเป็นตัวคัดกรองและเป้าหมายส าคัญที่จะช่วยให้ประเทศไทยสามารถ
                                                              ั
               ปรับลดเกณฑการคัดกรองให้แก่กลุ่มชายที่มีเพศสัมพนธ์กับชาย (men who have sex with men, MSM)
                            ์
               ได้ในเบื้องต้นนั้น คือ การลดอัตราการติดเชื้อเอชไอวีในประเทศให้ส าเร็จจนการติดเชื้อในโลหิตบริจาคต่ ากว่า
               ๑/๑๐๐,๐๐๐ คน ซึ่งต้องอาศัยความร่วมมือของทุกภาคส่วน ทั้งการให้ความรู้ความเข้าใจแก่เยาวชน
               และประชากรทุกกลุ่มการศึกษา การสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องล้วนมีบทบาทส าคัญที่จะท าให้ประเทศไทย

               พ้นจากความเสี่ยงในการติดเชื้อโรคนี้ทางเพศสัมพันธ์และทางการรับโลหิตได้
                             ด้วยศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เป็นสถาบันการแพทย์ด้านเวชศาสตร์

                                                                                          ื่
               งานบริการโลหิต (Transfusion Medicine) จึงต้องมีกระบวนการศึกษาด้านวิชาการเพอพฒนาอย่างต่อเนื่อง
                                                                                            ั
               ซึ่งการปรับเกณฑ์คัดกรองเป็นส่วนหนึ่งที่ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยสนใจติดตามเพื่อน ามา
               พัฒนาให้ทันต่อเหตุการณ์ส าหรับประเทศไทย ทั้งนี้ สถิติของการพบเชื้อเอชไอวี ในโลหิตบริจาคยังสูงมาก
                                                     ์
               เมื่อเทียบกับประเทศอื่นที่สามารถปรับเกณฑลดลงได้ ส่วนในเรื่องของแบบฟอร์มใบสมัครส าหรับผู้บริจาคโลหิต
                                                                                         ์
               ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย มีการปรับปรุงเป็นระยะตามหลักเกณฑและภาวการณ์ระบาด
               ของโรคต่าง ๆ ที่อาจแพร่กระจายผ่านทางการให้และรับโลหิต ซึ่งการปรับปรุงจะด าเนินการโดยศูนย์บริการ
               โลหิตแห่งชาติ ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงวุฒิด้านงานบริการโลหิตจากมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ในประเทศ

               มีการทบทวนความรู้จากงานวิจัยและแนวปฏิบัติของทุกแหล่งวิชาการอ้างอิงที่มีมาตรฐานทั่วโลก น ามา
               วิเคราะห์หาแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมส าหรับประเทศไทย โดยต้องใช้ร่วมกับคู่มือการรับบริจาคโลหิต ซึ่งจะมี
               การปรับปรุงให้ทันสมัยอยู่เป็นระยะเช่นกัน

                           ๒. กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
                             สถิติการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ใหญ่นั้น ในปี ๒๕๖๓ มีผู้ติดเชื้อรายใหม่ ๖,๕๗๓ คน ร้อยละ ๙๗

               เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน ร้อยละ ๓ เป็นการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ส่วนการติดเชื้อเอชไอวีในบุคคล
               ผู้มีความหลากหลายทางเพศในรอบ ๑๐ ปี มีอัตราสูงขึ้น โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีการติดเชื้อ ร้อยละ ๓๙.๑
               และในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ มีการติดเชื้อ ร้อยละ ๕๑.๗ โดยติดจากการใช้เข็มฉีดยาเสพติดเป็นหลัก รองลงมาจาก

                            ั
               การมีเพศสัมพนธ์ระหว่างชายกับชาย และหญิงข้ามเพศ โดยสถิติการพบเชื้อเอชไอวีในการบริจาคโลหิต
               ในช่วงเวลาปี พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ พบเชื้อเอชไอวีในผู้บริจาคโลหิตครั้งแรก ๓๐ คน ต่อ ๑๐๐,๐๐๐ คน

               ของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ และจากกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศที่บริจาคเป็นประจ า ๔๐ คน
   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202   203