Page 209 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 209

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๙๗



               มีมาตรการป้องกันการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศที่ชัดเจน มีสาระส าคัญเป็นการคุ้มครอง

               ผู้ถูกเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ และป้องกันมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ
               พร้อมทั้งให้นิยาม “การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมระหว่างเพศ” หมายความว่า การกระท าหรือไม่กระท า

               การใดอันเป็นการแบ่งแยก กีดกัน หรือจ ากัดสิทธิประโยชน์ใด ๆ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม โดยปราศจาก
               ความชอบธรรม เพราะเหตุที่บุคคลนั้นเป็นเพศชายหรือเพศหญิง หรือมีการแสดงออกที่แตกต่างจาก
               เพศโดยก าเนิด” ตระหนักถึงความเท่าเทียมทางเพศและขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลด้วยเหตุแห่งเพศ

               รวมทั้งเคารพซึ่งความหลากหลายทางเพศ
                             การมีกฎหมายขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคลที่มีสาระเป็นการห้ามเลือกปฏิบัติ เพราะเหตุ

                                                                                            ิ
               แห่งความแตกต่างในเรื่องถิ่นก าเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ เพศสภาพ เพศวิถี อายุ ความพการ สภาพทางกาย
               หรือสุขภาพ การติดเชื้อเอชไอวี หรือเอดส์ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม อาชีพ การท างาน
               การศึกษา อบรม ศาสนาหรือความเชื่อ หรือความคิดเห็นทางการเมือง

                             ในเมื่อการบริจาคโลหิต มีกระบวนการมิติแห่งความปลอดภัย และมิติแห่งสิทธิ เสรีภาพ
               ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ โดยมีกฎ ระเบียบที่ยึดถือปฏิบัติโดยหน่วยรับบริจาค คือศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ

               สภากาชาดไทย ซึ่งหากมีการตรากฎหมายที่มีเนื้อหาเป็นการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อบุคคล ตามรัฐธรรมนูญ
               แห่งราชอาณาจักรไทยแล้ว การปกป้องคุ้มครองสิทธิของบุคคลมิให้ถูกเลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
               ย่อมอาจจะเกิดขึ้นได้ ขณะเดียวกัน ประเทศไทยยังไม่มีกฎหมายเฉพาะที่ใช้บังคับแก่กรณีความเสียหาย

               ที่เกิดจากเลือดที่ไม่ปลอดภัย เมื่อมีข้อพพาทเกี่ยวกับความเสียหายที่เกิดจากเลือดที่ไม่ปลอดภัย ผู้เสียหาย
                                                  ิ
                       ้
               จึงอาจฟองร้องคดีโดยอาศัยฐานทางกฎหมายตามแต่กรณี เช่น กฎหมายแพงและพาณิชย์บทว่าด้วยการละเมิด
                                                                               ่
               หรือกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค เป็นต้น ซึ่งผลจากการที่ไม่มีกฎหมายเฉพาะลักษณะดังกล่าวนี้ ผู้เสียหาย
               จึงไม่ได้รับการเยียวยาและความเป็นธรรมเท่าที่ควร และที่ส าคัญหน่วยรับบริจาคโลหิตจึงก าหนดมาตรการ

               หลักเกณฑ์ที่อาจจะเป็นการจ ากัดสิทธิของบุคคล เพื่อมุ่งเน้นเรื่องความปลอดภัยของเลือดเป็นประการส าคัญ
                             ปัญหาดังกล่าวนี้ ในสหรัฐอเมริกาเกือบทุกรัฐ จะตรากฎหมายท้องถิ่น “Blood Shield
               Statute” ที่ก าหนดความรับผิดต่อความเสียหายอันเกิดจากเลือดภายใต้หลักกฎหมายละเมิด ซึ่งให้เป็น

                                   ิ
               ดุลพนิจของศาลเพอพจารณาว่าผู้จัดหาเลือดได้กระท าโดยประมาทเลินเล่อหรือไม่ ส่วนประเทศในยุโรป
                    ิ
                                ื่
               อาศัยกฎหมายความรับผิดในผลิตภัณฑ์ เพราะได้วางขอบเขตไว้รวมถึงเลือดด้วย
   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213   214