Page 211 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 211

ส่วนที่ ๓                                                                           หน้า ๑๙๙



               เพื่อก าหนดให้มีการรับรองเพศสภาพของบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ และการเปลี่ยนค าน าหน้านาม

               ในประเทศไทยที่ชัดเจน ในการพิจารณาศึกษาดังกล่าว คณะอนุกรรมาธิการได้อาศัยข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ
                                                                            ุ
               กฎหมายภายในประเทศ เช่น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทธศักราช ๒๕๖๐ ประมวลกฎหมาย
                                        ่
               อาญา ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย์  พระราชบัญญัติบัตรประจ าตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ และที่
                       ิ่
               แก้ไขเพมเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ และกฎกระทรวง ฉบับที่ ๒๓ (พ.ศ. ๒๕๕๔) ออกตามความใน
               พระราชบัญญัติบัตรประจ าตัวประชาชน พ.ศ. ๒๕๒๖ พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. ๒๕๓๔

                           พระราชบัญญัติค าน าหน้านามหญิง พ.ศ. ๒๕๕๑ และพระราชบัญญัติรับราชการทหาร
                                                     ั
               พ.ศ. ๒๔๙๗ กฎหมายระหว่างประเทศ สหพนธ์สาธารณรัฐเยอรมนี สหราชอาณาจักร สาธารณรัฐอาร์เจนตินา
               และสาธารณรัฐมอลตา ทั้งในส่วนบุคคลผู้มีสิทธิยื่นค าร้องขอให้รับรองเพศ เงื่อนไขในการยื่นค าร้องขอ
                         ิ
                                                         ิ
               ผู้มีหน้าที่พจารณาค าร้องขอ ผลภายหลังการพจารณาอนุญาต รวมถึงกรณีการจะขอแก้ไข เปลี่ยนแปลง
               ค าสั่งที่ได้อนุญาตให้รับรองเพศแล้วนั้น โดยได้น าข้อมูลที่ได้มาเปรียบเทียบถึงความแตกต่างของแต่ละประเทศ
               และน ามาปรับใช้เป็นแนวทางการยกร่างของคณะอนุกรรมาธิการให้มีความเหมาะสมกับบริบทสังคมของ
               ประเทศไทย ซึ่งกฎหมายของต่างประเทศที่คณะอนุกรรมาธิการได้พจารณาศึกษา ตลอดจนงานวิจัย
                                                                               ิ
                                                                   ื่
               และบทความวิชาการทีเกี่ยวข้อง หลักการ SOGIESC เพอท าความเข้าใจถึงความแตกต่างหลากหลาย
               ทางเพศของมนุษย์ นักสิทธิมนุษยชนได้มีการพฒนาสิ่งที่เรียกว่า “SOGIESC” ซึ่งเป็นกรอบความคิด
                                                           ั
               เพื่อท าความเข้าใจกับองค์ประกอบและความรู้เกี่ยวกับเรื่องเพศ ซึ่งมีองค์ประกอบ ๔ ส่วน ดังนี้

                           ๑) Sexual Orientation: SO หรือ รสนิยมทางเพศ หมายถึง อารมณ์ ความรู้สึกเชิงชู้สาว และ
               ความดึงดูดทางเพศ ทั้งในเพศตรงข้ามและเพศเดียวกัน เป็นสัญชาตญาณที่เกิดมาพร้อมกับความเป็นมนุษย์

               เป็นปกติของความเป็นมนุษย  ์
                           ๒) Gender Identity: GI หรือ อัตลักษณ์ทางเพศ หมายถึง ความส านึกรู้และการแสดงออก

               ทางเพศภาวะเกี่ยวกับความเป็นเพศภาวะของตัวเองซึ่งอาจจะสอดคล้องหรือไม่สอดคล้องกับเพศก าเนิด
                           ๓) Gender expression: GE หรือ การแสดงออกทางเพศภาวะ ซึ่งอาจมาจากการสั่งสอนของ
               ครอบครัว เช่น ผู้ชายต้องแต่งกายสีเข้ม มีความเข้มแข็ง ส่วนผู้หญิงควรไว้ผมยาว แต่งหน้า ท่วงท่าการเดิน

               ความอ่อนโยน
                           ๔) Sex Characteristic: SC หรือ เพศสรีระ หมายถึง ลักษณะทางเพศของบุคคลที่ติดตัวมา

               แต่ก าเนิดซึ่งถูกก าหนดให้เป็น ๒ เพศ คือ เพศหญิง และเพศชาย
                           คณะอนุกรรมาธิการได้มีการศึกษาหลักการ SOGIESC ดังกล่าว เพออธิบายและสร้างความเข้าใจ
                                                                                   ื่
               ร่วมกันถึงเรื่องความหลากหลายทางเพศของบุคคล และการก าหนดค านิยามของค าเฉพาะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                           เมื่อได้พิจารณาแล้วจึงได้ยกร่างพระราชบัญญัติการรับรองเพศ ค าน าหน้านาม และการคุ้มครอง
               บุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ พ.ศ. .... มาสาระส าคัญ ๗ หมวด ประกอบด้วย

                                                                                       ้

                           ๑. เหตุผลในการยกร่างพระราชบัญญัติการรับรองเพศ ค านาหนานาม และการคุ้มครอง
               บุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศ พ.ศ. ....
                             ปัจจุบันกฎหมายไทยและเอกสารของรัฐไทยใช้ค าน าหน้านามโดยทั่วไปที่เป็นค าน าหน้านาม

               ซึ่งถือตามเพศก าเนิด เช่น เด็กชาย เด็กหญิง นาย นางสาว และนาง ส่งผลให้บุคคลข้ามเพศและผู้มี
               ความหลากหลายทางเพศอื่นประสบปัญหาในการแสดงตัวตน การตัดสินใจก าหนดวิถีทางเพศของตน

               และกระทบต่อการด าเนินชีวิต อย่างไรก็ตาม กฎหมายระหว่างประเทศและในทางสากลได้รับรองเรื่อง
               ความหลากหลายทางเพศ ซึ่งยอมรับเรื่องอัตลักษณ์ทางเพศและรสนิยมทางเพศที่มีความหลากหลาย ดังนั้น
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216