Page 204 - สรป 4Y กมธ กิจการเด็กฯ ชุด 25
P. 204
หน้า ๑๙๒ ส่วนที่ ๓
ั
ที่ใช้วิธีการเลื่อนเวลาการบริจาคเลือดจากผู้มีเพศสัมพนธ์ที่ไม่ปลอดภัยในระยะแรกหลายขณะที่มีบางประเทศ
เปลี่ยนการเลื่อนเวลาจาก “ตลอดชีพ” (a lifetime deferral) เป็น “๑ ปี” (a one-year deferral)
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย มีกระบวนการคัดกรองโลหิตบริจาค
ื่
ทางห้องปฏิบัติการ ซึ่งมีขั้นตอนการตรวจเพอลดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่อาจแฝงมากับโลหิตบริจาค
ั
โดยเฉพาะการตรวจหาเชื้อเอชไอวีโดยวิธี NAT ซึ่งเป็นการตรวจหาสารพนธุกรรมของเชื้อเอชไอวีที่มี
ความไวสูงสุดมาใช้ในการตรวจ แต่ถ้าผู้บริจาคโลหิตได้รับเชื้อในระยะเริ่มต้นหรือเรียกว่า window period
ภายใน ๘ วัน ก่อนมาบริจาคโลหิต จะไม่สามารถที่จะตรวจพบได้ เพราะเชื้อยังมีจ านวนน้อย จนไม่สามารถ
ตรวจพบได้ด้วยวิธีทางห้องปฏิบัติการ แต่สามารถแพร่เชื้อไปยังผู้ป่วยที่ได้รับโลหิตนั้นได้
จากข้อมูลของมูลนิธิเพอนรัก พบว่า ส่วนใหญ่แพทย์หรือเจ้าหน้าที่จะให้ค าแนะน า
ื่
ให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีที่ระยะฟักตัว ๑ เดือน นับจากวันที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับร่างกาย
ของแต่ละคนอีกด้วยว่าจะสามารถพบเชื้อได้ช่วงเวลาไหน และที่ส าคัญ อาจจะเป็นช่วงเวลาที่สามารถ
ถ่ายทอดเชื้อได้ Window Period ที่ปลอดภัยจึงควรหลีกเลี่ยงความเสี่ยงเพิ่มในระยะนี้ เช่น งดการมีเพศสัมพันธ์
งดการเปลี่ยนคู่นอน หรือพฤติกรรมเสี่ยงอื่น ๆ จนกว่าจะได้รับการยืนยันผลตรวจเลือดเรียบร้อยแล้ว
ระยะฟักตัว
วิธีการตรวจ HIV เวลาที่รู้ผล
(WINDOW PERIOD)
Nucleic Acid Test : NAT ๕ – ๗ วัน ๕ วัน
Anti-HIV น้ ายา 4 thGen ๑๔ วัน ๑ วัน
Anti-HIV น้ ายา 3 thGen ๒๑ วัน ๑ วัน
ชุดตรวจ HIV ด้วยตัวเอง ๒๑ วัน – ๓ เดือน ๑ นาที
ตารางแสดงการตรวจหาเชื้อเอชไอวีในระยะฟักตัว
ที่มา: มูลนิธิเพื่อนรัก https://lovefoundation.or.th
๓. ภาษาแบบสอบถามและการคัดกรองไม่มีความละเอียดอ่อนต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลาย
ทางเพศ
ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย ออกแบบสอบถามคัดกรองเบื้องต้นส าหรับ
ประเมินคัดเลือกผู้บริจาคโลหิต ตามหลักเกณฑที่ WHO แนะน าเชิงนโยบายในหนังสือคู่มือ Blood Donor
์
Selection. Guidelines on Assessing Donor Suitability for Blood Donation 2012 โดยค านึงถึงความจ าเป็น
ที่ต้องมีการคัดเลือกผู้บริจาคโลหิตจากผู้ที่มีสุขภาพดี และไม่มีความเสี่ยงที่อาจได้รับเชื้อโรคที่สามารถ
ถ่ายทอดทางโลหิตไปสู่ผู้ป่วยได้ แบบดังกล่าวจะเป็นข้อมูลเบื้องต้นให้ทราบว่าผู้ประสงค์จะบริจาคโลหิต
มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยหรือไม่
การสอบถามเพอประเมินความเสี่ยงด้านเพศสัมพนธ์มีความจ าเป็น แต่ต้องพจารณาจาก
ั
ิ
ื่
พฤติกรรมเสี่ยงของแต่ละบุคคล ไม่ใช่เหมารวมว่ากลุ่มบุคคลผู้มีความหลากหลายทางเพศเป็นกลุ่มเสี่ยงต่อ
ั
โลหิตที่บริจาคไม่มีความปลอดภัย การสอบถามผู้แสดงเจตจ านงบริจาคโลหิตว่าเคยมีเพศสัมพนธ์กับ
ผู้ที่ไม่ใช่คู่ของตนเอง หรือกับผู้ที่ท างานบริการทางเพศ หรือกับผู้เสพยาเสพติด หรือผู้ที่อาจจะติดเชื้อเอชไอวี