Page 25 - STRATEGIES FOR BUDDHISM PROPAGATION OF OVERSEAS DHAMMADUTA BHIKKHUS (PH.D.)
P. 25

๗


                       พระพุทธศาสนาจึงมีวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสม โดยไม่ทิ้งหลักการ คือ พระธรรมวินัย เป็นที่น่าชื่นชม
                       ยินดี ที่พระสงฆ์แห่งสังฆมณฑลไทย ที่ออกไปประกาศพระศาสนาในประเทศต่าง ๆ มีความรู้

                                                                                                        ๙
                       ความสามารถสูง จึงปฏิบัติหน้าที่ของผู้ประกาศพระศาสนา (พระธรรมทูต) ได้ ดังที่ปรากฏอยู่ทั่วโลก
                                 พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต) กล่าวไว้ในหนังสือ “พระธรรมทูตไทยเบิกทางสู่อารยธรรม

                       ใหม่” สรุปได้ว่า พระธรรมทูตมีคุณสมบัติที่เป็นหลักอยู่ ๓ ประการ คือ

                                 ๑. พระธรรมทูตจะต้องมีความมั่นใจในคุณค่า ความดีงาม ความประเสริฐของ
                       พระพุทธศาสนา

                                 ๒. พระธรรมทูตจะต้องมีความประพฤติที่ดีงามอันชวนให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสแก่ผู้
                       ที่พบเห็น พระธรรมทูตจะต้องมีความหนักแน่น คือเมื่อไปอยู่ในประเทศที่มีภูมิหลังทางวัฒนธรรม

                       แตกต่างกับสังคมไทย พระธรรมทูตจะต้องมีความหนักแน่นในพระธรรมวินัย ไม่หวั่นไหวไปตาม

                       สภาพแวดล้อม และภารกิจที่ส าคัญของพระธรรมทูตนั้นก็เป็นภารกิจที่ยิ่งใหญ่เพราะเป็นการจาริกไป
                       เพื่อสร้างสรรค์ประโยชน์แก่มนุษยชาติทั้งโลก

                                 ๓. พระธรรมทูตจะต้องมีความมั่นคงทางจิตใจ มีคุณธรรม ให้บุคคลภายนอกมองเห็นใน

                                                                  ๑๐
                       เชิงสร้างคุณค่าทางจิตใจ โดยเฉพาะในเรื่องของสมาธิ
                                 พิสิฐ เจริญสุข กล่าวไว้ว่า วิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่มีประสิทธิผล โดยสรุปมีอยู่ ๒

                       วิธี คือ การเผยแผ่ทางกาย ได้แก่ การปฏิบัติให้ดูเป็นแบบอย่าง เวลา ยืน เดิน นั่ง นอน เป็นไปด้วย
                       ความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีสติส ารวม ระมัดระวัง แสดงท่าทางของผู้สงบเยือกเย็น และการเผยแผ่

                       ทางวาจา ได้แก่ พูดธรรมะให้ผู้อื่นฟังด้วยวิธีที่เรียกว่าบรรยาย ปาฐกถาธรรม แสดงธรรม ที่เรียกว่า

                       ธรรมกถึก แปลว่า ผู้กล่าวธรรม ผู้สอนธรรม แสดงให้ผู้อื่นฟัง อย่างมีศิลปะ
                                                                                   ๑๑
                                 วศิน อินทสระ กล่าวไว้ว่า พุทธวิธีการสอน หมายถึง วิธีการที่พระพุทธเจ้าทรงสอนพุทธ

                       บริษัทด้วยพุทธวิธีหลายอย่าง เพื่อให้เหมาะสมแก่ผู้ฟัง เพื่อให้ได้ประโยชน์มากที่สุดเมื่อจบการสอน
                       โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อให้ผู้ฟังรู้จริงเห็นจริงในสิ่งที่ควรรู้ควรเห็น เพื่อให้ผู้ฟังตรองตามแล้วเห็นจริงได้

                       ทรงแสดงธรรมอย่างมีเหตุผลที่ผู้ฟังพอตรองตามให้เห็นด้วยตนเอง และเพื่อให้ผู้ฟังได้รับผลของการ

                                                                                                    ๑๒
                       ปฏิบัติตามสมควร สามารถยังผู้ปฏิบัติตามให้ได้รับผลตามสมควรแก่ก าลังแห่งการปฏิบัติของตน



                                 ๙  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ), พระธรรมทูตสำยต่ำงประเทศ รุ่นที่ ๑๔, (กรุงเทพมหานคร:
                       นิติธรรมการพิมพ์, ๒๕๕๑), หน้า ๕.

                                 ๑๐  พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พระธรรมทูตไทยเบิกทำงสู่อำรยธรรมใหม่, พิมพ์ครั้งที่ ๔,
                       (กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิพุทธธรรม, ๒๕๔๕), หน้า ๒-๑๗.
                                 ๑๑  พิสิฐ เจริญสุข, คู่มือกำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำ, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์กรมการศาสนา,

                       ๒๕๓๙), หน้า ๓-๔.
                                 ๑๒  วศิน อินทสระ, พุทธวิธีในกำรสอน, (กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์ธรรมดา, ๒๕๔๕), หน้า ๓๕.
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30