Page 255 - Full paper สอฉ.3-62
P. 255
nd
การประชุมวิชาการระดับชาติ สอฉ 3 วิจัยและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 The 2 Institute of Vocational Education : Northeastern Region 3
Research and Innovation Conference
วันที่ 6 กันยายน 2562 จ. มหาสารคาม 6 September 2019 ,Mahasarakham , THAILAND
การสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน รายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
รหัสวิชา 3105-1003 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557
Constructing and Finding an Efficiency of an education media for Electronics Circuit Analysis (3105-1003)
นายศราวุธ ไหลหาโคตร 1
1 ภาควิชา/สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ คณะ.......... มหาวิทยาลัย/วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ สถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3
บทคัดย่อ ทั้งฉบับเท่ากับ.85และ3)แบบประเมินระดับความพึงพอใจของ
นักศึกษาเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า(RatingScale) 5ระดับ
ในการวิจัยเรื่อง การสร้างและหาประสิทธิภาพเอกสาร
ประกอบการสอน รายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ รหัส จ านวน 30 ข้อ ค่าอ านาจจ าแนกรายข้อมีค่าตั้งแต่ .34 ถึง .95 ค่า
วิชา 3105-1003 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .85 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
พุทธศักราช 2557 ครั้งนี้ มีความมุ่งหมาย 4 ประการ ดังนี้ คือร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t-test
1) การสร้าง และหาประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน (Dependent Sample)ผลการวิจัยปรากฏดังนี้
รายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 3105-1003 1. ประสิทธิภาพเอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557 3105-1003 รายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตาม
ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) หาค่าดัชนีประสิทธิผล 3) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557
เปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียน และคะแนนทดสอบ มีประสิทธิภาพเท่ากับ 83.88/82.42 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน
หลังเรียนของนักศึกษาแต่ละหน่วยการเรียน และรวมทุกหน่วย 80/80
การเรียน และ 4) ศึกษาระดับความพึงพอใจนักศึกษาที่มีต่อ 2. ค่าดัชนีประสิทธิผลของเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยนี้ คือ รหัสวิชา3105-1003 รายวิชาการวิเคราะห์วงจรอิเล็กทรอนิกส์
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 1 ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2557
วิทยาลัยเทคนิคกาฬสินธุ์ จ านวน 14 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเป็น มีค่าเท่ากับ 0.72
กลุ่ม (Area or Cluster Sampling) ระยะเวลาในการทดลอง 3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียน และ
ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คะแนนทดสอบหลังเรียนของนักศึกษาแต่ละบทเรียน และรวม
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย4ชนิด ทุกบทเรียน แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ได้แก่ 1) เอกสารประกอบการสอน รายวิชาการวิเคราะห์วงจร 4. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์ รหัสวิชา 3105-1003 ตามหลักสูตร ประกอบการสอนรหัสวิชา 3105-1003 รายวิชาการวิเคราะห์
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงพุทธศักราช2557 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
2)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบปรนัย5 ตัวเลือก ชั้นสูง พุทธศักราช 2557 นักศึกษามีความเห็นโดยรวมอยู่ ใน
จ านวน 100 ข้อค่าความยากรายข้อตั้งแต่ .25 ถึง .78และค่า ระดับความพึงพอใจมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 เมื่อพิจารณา
อ านาจจ าแนกรายข้อตั้งแต่ .25 ถึง .96 มีค่าความเชื่อมั่น ในแต่ละด้าน นักศึกษามีความพึงพอใจระดับมากที่สุดทุกด้าน
ดังนี้ ด้านประโยชน์ และคุณค่า ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 ด้าน
1
237