Page 548 - Full paper สอฉ.3-62
P. 548

accomplish, acceptance and responsibility were in much level.   2. เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีใน
            3)     The  correlation  between  accountancy  skill  with   สถานศึกษา สังกัดส านักวานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน

            effectiveness  in  vocational  institutions  in  Thailand  wad   ประเทศไทย
            positive significantly at the 0.01 levels                3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพบัญชี
            1.  ค าน า                                            กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา

               เนื่องจากนโยบายการเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน   สังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาในประเทศไทย
            (ASEAN Economic Community; AEC) ของกลุ่มสมาคม

            ประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน มี     3.  กรอบแนวคิดในการวิจัย
            วัตถุประสงค์ในการเปิดเสรีทางการค้าโดยข้อตกลงก าหนดให้    ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย ตัวแปรอิสระ คือ
            มีการเปิดเสรีทางการค้าและพัฒนาเศรษฐกิจในกลุ่มภูมิภาคให้  ทักษะทางวิชาชีพบัญชี (Accounting Profession Skills) จาก
            มีความเข้มแข็ง เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับภูมิภาค  มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพ

            อื่น ๆ ภายใต้แนวความคิดที่จะสร้างฐานการผลิตและตลาดร่วม  บัญชี ฉบับที่ 3 เรื่องทักษะทางวิชาชีพ (สภาวิชาชีพบัญชีในพระ
            เดียวกันที่ก่อให้เกิดการเคลื่อนย้ายของสินค้าและบริการ การ  บรมราชูปถัมภ์,2559น.1)ประกอบด้วยด้านทักษะทางปัญญา

            ลงทุน เงินทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรีในกลุ่มภูมิภาคจ านวน   ด้านทักษะทางวิชาการเชิงปฏิบัติและหน้าที่งาน ด้านทักษะทาง
            8 วิชาชีพ ท าให้มีผลกระทบต่อแรงงานไทยบางกลุ่มที่มีทักษะ  คุณลักษณะเฉพาะบุคคล ด้านทักษะทางปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
            ฝีมือและคุณภาพไม่ได้ตามมาตรฐานสากล ซึ่งหนึ่งในนั้น คือ   บุคคลและการสื่อสาร และด้านทักษะการบริหารองค์การและ

            วิชาชีพบัญชี                                          การจัดการธุรกิจ ตัวแปรตามคือ  ประสิทธิภาพในการ
            (พูลสิน กลิ่นประทุม, 2559, น. 139)ท าให้สภาวิชาชีพในพระ  ปฏิบัติงาน (Working Efficiency) โดยประยุกต์ปัจจัยแรงจูงใจที่

            บรมราชูปถัมภ์ ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ดูแลวิชาชีพบัญชีได้  ก่อให้เกิดผลส าเร็จของเฮิร์ทเบิร์ก (Herzberg’s Theory)
            ตระหนักถึงความจ าเป็นในการยกระดับคุณภาพของวิชาชีพ     ประกอบด้วย ด้านความส าเร็จของงาน ด้านการได้รับการ
            บัญชีไทยโดยการออกมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ         ยอมรับ และด้านความรับผิดชอบ
            ส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี จ านวน 8 ฉบับ หนึ่งในนั้น คือ      จากเหตุที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา

            มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ ส าหรับผู้ประกอบวิชาชีพ  ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพ
            บัญชี ฉบับที่ 3 เรื่อง ทักษะทางวิชาชีพ ดังนั้น นักบัญชีจึงจ าเป็น  การปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา สังกัดส านักงาน

            อย่างยิ่งที่จะต้องมีการพัฒนาทักษะทางวิชาชีพบัญชี เพื่อให้มี  คณะกรรมการการอาชีวศึกษาในประเทศไทย ผลลัพธ์ที่ได้จาก
            ความรู้และทักษะด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ได้มาตรฐานเป็นที่  การวิจัยสามารถน าไปใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนา
            ยอมรับในระดับสากล (สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์  ทักษะวิชาชีพบัญชี เพื่อให้การปฏิบัติงานของนักบัญชีมี

            ,2559,น.1)                                            ประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น รวมทั้งเพื่อเป็นข้อมูลในการวางแผน
                                                                  งบประมาณด้านบุคลากรต่อไป

            2.   วัตถุประสงค์ของการวิจัย
                1. เพื่อศึกษาทักษาทางวิชาชีพบัญชีของนักบัญชีใน    4.  วิธีด าเนินการวิจัย

            สถานศึกษาสังกัดส านักงานาคณะกรรมการการอาชีวศึกษาใน       4.1  สมมติฐานการวิจัย
            ประเทศไทย                                                ทักษะทางวิชาชีพบัญชีมีความสัมพันธ์กับ
                                                                  ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีใน

                                                              2


                                                                                                                 530
   543   544   545   546   547   548   549   550   551   552   553