Page 546 - Full paper สอฉ.3-62
P. 546
จุดมุ่งหมายในการเรียนการสอนให้เหมาะสมและมี เอกสารอ้างอิง
ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับ จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย (2554) จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ
ศึกษาเรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการวัดและ เรียนในวิชาการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้
ประเมินผลการเรียนรู้ โดยใช้วิธีการสอนแล้วสอบ ของนักศึกษา วิธีการสอนแล้วสอบ ของนักศึกษาวิชาชีพครูสาขา
วิชาชีพครูสาขาวิชาเอกคณิตศาสตร์ หมู่เรียน 53/19 ปีการศึกษา วิชาเอกคณิตศาสตร์ หมู่เรียน 53/19 ปีการศึกษา 2553.
2553 ผลการวิจัยพบว่า ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ นครปฐม:มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, คณะครุศาสตร์.
เรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยวิธีการสอนแล้วสอบพบว่า โชติมา หนูพริก. (2553). การพัฒนาระบบประเมินการเรียนการ
นักเรียนที่เรียนใช้วิธีการสอนแล้วสอบ มีคะแนนเฉลี่ย สอนคณิตศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่าง วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 จ านวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 85 ดารา ทีปะปาล. (2541). หลักการตลาด. กรุงเทพฯ: อมร
ไม่ผ่านเกณฑ์ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 15 เนื่องจากการสอนแล้ว การพิมพ์.
สอบท าให้นักศึกษาได้เรียนรู้มากขึ้น ท าให้นักศึกษาต้องเตรียม ทิพอุษา ศรีเพริศ, คนึงนิตย์ จันทุรัตน์ และธัญญรัตน์ ปาณะกุล.
ตัวอยู่เสมอ ท าให้นักศึกษารู้ข้อบกพร่องที่ควรแก้ไขของตนเอง (2559). สภาพการปฏิบัติและปัญหาการจัดการเรียนการ
และท าให้เกิดความมั่นใจในการเรียนรู้ กล้าเผชิญปัญหา ส าหรับ สอนกระบวนวิชา การอ่านเอาความภาษาอังกฤษ (ENG
ครูผู้สอน ท าให้ครูค้นพบวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการเรียน 2001) มหาวิทยาลัยรามคาแหง. วารสารรามคาแหง ฉบับ
การสอน และสอดคล้องกับ แสงอรุณ ขันอาสา (2555) ศึกษา มนุษยศาสตร์, 35(2), 91–108.
เรื่อง การศึกษาการส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ ไพจิตร สดวกการ. (2538). การศึกษาผลการสอนคณิตสาสตร์
เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา เมือง ตามแนวคอนสตรัคติวิซึมที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการ
สาละวัน แขวงสาละวัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน เรียนวิชาคณิตศาสตร์และความสามารถในการถ่ายโยง
ลาว ผลการวิจัยพบว่า การส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่ การเรียนรู้ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น.
เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาเมือง วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สาละวัน ด้านการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน โดยรวม ไพศาล หวังพานิช. (2526). การวัดผลทางการศึกษา. กรุงเทพฯ:
และรายข้ออยู่ในระดับมาก เนื่องจากผู้บริหารส่งเสริมให้ครูจัด ไทยวัฒนาพานิช.
ให้มีการประเมินตนเองของนักเรียน ส่งเสริมให้ครูวัดและ เยาวดี วิบูลย์ศรี. (2545). การวัดผลและการสร้างแบบทดสอบ
ประเมินผลการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้วิธีที่ ผลสัมฤทธิ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
หลากหลาย และส่งเสริมให้ครู น าผลงานการประเมินทุกครั้งมา มหาวิทยาลัย.
ปรับปรุง การเรียนการสอน และสอดคล้องกับ ทิพอุษา ศรีเพริศ วิชัย วงษ์ใหญ่. (2542). พลังเรียนรู้ในกระบวนทัศน์ใหม่.
คนึงนิตย์ จันทุรัตน์ และธัญญรัตน์ ปาณะกุล (2559) ศึกษาเรื่อง กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, คณะ
สภาพการปฏิบัติและปัญหาการจัดการเรียนการสอนกระบวน ศึกษาศาสตร์.
วิชา การอ่านเอาความภาษาอังกฤษ (ENG 2001) มหาวิทยาลัย แสงอรุณ ขันอาสา. (2555). การศึกษาการส่งเสริมการจัด
รามค าแหง ผลการศึกษาพบว่า คณาจารย์ควรกระตุ้นให้ กิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญของ
นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมและใช้เวลานอกห้องเรียนให้เป็น ผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา เมืองสาละวัน แขวงสาละ
ประโยชน์ต่อการเรียนมากขึ้น เพื่อให้นักศึกษามีพื้นความรู้ วัน สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสาร
สอดคล้องกับเนื้อหาวิชามากเพียงพอ ศึกษาศาสตร์, 23(1), 58-68.
5
528