Page 568 - Full paper สอฉ.3-62
P. 568
3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.4.2 ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
3.1.1 ศึกษาปัญหา วิเคราะห์ ออกแบบและการพัฒนาระบบ ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 : 103)
บริหารจัดการการฝึกอบรมพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท เอส จากสูตร S. D. = n ∑ 2 −(∑x) 2
x
n(n−1)
เอ็น ซี กรุ๊ป จ ากัด เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3.1.2 ให้ผู้ใช้บริการเข้ามากรอกแบบประเมินคุณภาพ/ความ x
พึงพอใจ แทน ค ะ แ น น แ ต่ ล ะ ตั ว
3.1.3 ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูล n แทน จ านวนคะแนนในกลุ่ม
∑ แทน ผลรวม
3.2 การก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3.4.3 ค่าร้อยละ ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545 :
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานฝ่าย 103)
บุคคล บริษัท เอส เอ็น ซี กรุ๊ป จ ากัด จ านวน 9 คน จากสูตร P = f 100
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ พนักงานฝ่าย เมื่อ P แทน ร้อยละ n
บุคคล บริษัท เอส เอ็น ซี กรุ๊ป จ ากัด จ านวน 9 คน ซึ่งได้มาจาก f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลค่าให้เป็นร้อยละ
การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง n แทน จ านวนความถี่ทั้งหมด
3.3 การออกแบบและสร้างเครื่องมือ
ในการวิจัยครั้งนี้ คณะผู้วิจัย ได้ท าการออกแบบและสร้าง 4. ผลการวิจัย
เครื่องมือ โดยแบ่งเป็นดังนี้ ในการพัฒนาระบบบริหารจัดการการฝึกอบรมพนักงาน
3.3.1 การออกแบบ กรณีศึกษา บริษัท เอส เอ็น ซี กรุ๊ป จ ากัด มีผู้เชี่ยวชาญที่ใช้ใน
คณะผู้วิจัยได้ท าการออกแบบระบบโดยประกอบด้วย การ การประเมินคุณภาพ จ านวน 3 คน และมีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ใน
ออกแบบแผนผังระบบงานเดิม แผนภาพบริบทระบบงานเดิม การประเมินความพึงพอใจ จ านวน 9 คน ใช้แบบประเมิน
แผนภาพการไหลข้อมูลระบบงานเดิม แผนผังระบบงานใหม่ คุณภาพและแบบประเมินความพึงพอใจ เป็นเครื่องมือในการ
แผนภาพบริบทระบบงานใหม่ แผนภาพการไหลข้อมูล วิจัย สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลได้ครบทั้งหมด 100% และ
ระบบงานใหม่ การออกแบบฐานข้อมูล และพจนานุกรมข้อมูล จากข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้น ามาท าการวิเคราะห์ตามวิธีการ
3.3.2 การสร้างเครื่องมือ วิจัยที่ได้ก าหนดไว้โดยแบ่งการรายงานผลการวิจัยออกเป็น 2
คณะผู้วิจัย ได้ท าการสร้างเครื่องมือเพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่ม ส่วนดังนี้
ตัวอย่าง โดยประกอบด้วย การพัฒนาโปรแกรม การสร้างแบบ
ประเมินคุณภาพและแบบประเมินความพึงพอใจ 4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบประเมินคุณภาพ ของระบบ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมินคุณภาพ
3.4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นภาพรวมผู้ตอบแบบประเมินคุณภาพทั้งหมด 3 ตัวอย่าง
3.4.1 ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตรดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, ข้อมูลด้านเพศพบว่ามีเพศชายมากกว่าเพศหญิงโดยเป็นเพศชาย
2545 : 103) 2 ตัวอย่างหรือร้อยละ 66.7 ของผู้ตอบแบบประเมินคุณภาพ
กก จากสูตร x̅ = ∑ ทั้งหมดและเป็นเพศหญิง 1 ตัวอย่างหรือร้อยละ 33.3 ของ
n ผู้ตอบแบบประเมินคุณภาพทั้งหมด
เมื่อ x̅ แทน ค่าเฉลี่ย
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการใช้งานระบบบริหารจัดการการ
กกกกกกกกก∑ แทน ผลรวมของคะแนน ฝึกอบรมพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท เอส เอ็น ซี กรุ๊ป จ ากัด
ทั้งหมดในกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญประเมินคุณภาพเกี่ยวกับการใช้งานด้าน
กกกกกกกก N แทน จ านวนคนในกลุ่ม
คุณสมบัติของงาน ในภาพรวมอยู่ในระดับดี ( = 3.96, S.D =
3
550