Page 625 - Full paper สอฉ.3-62
P. 625
ความสัมพันธ์ ระหว่างปัจจัยน าเข้า (Input) และผลผลิต (Output) อาชีวศึกษา, 2556) กลุ่มตัวอย่าง (Sample) ที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่
ที่ได้รับออกมาเป็ นผลดีต่อส่วนรวม และผู้รับ บริการ สถานศึกษาในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ประสิทธิภาพจึงเกิดจากการลดต้นทุนการผลิต คุณภาพของการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามหน่วยงานที่สังกัด โดยมีผู้ให้
มีประสิทธิผลและความ สามารถในการผลิตเพื่อให้ได้ปริมาณ ข้อมูลหลัก (Key Informant) คือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานด้านงาน
และคุณภาพที่ต้องการ เหมาะสม ตลอดจนเกิดต้นทุน น้อยที่สุด การเงินและบัญชี ในสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการ
โดยค านึงถึงสถานการณ์และข้อผูกพันด้านการเงินที่มีอยู่ โดย การอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ านวน 92 แห่ง รวม
พิจารณาถึง ต้นทุน คุณภาพ ปริมาณ และวิธีการในการผลิต จ านวน 184 คน (Robert V. Krejcie and Daryle W. Morgan,
(Peterson & Plowman 2000 อ้างถึงในปวีณลดา เพิ่มพูน, 2549, 1970, อ้างถึงในจ าเริญ อุ่นแก้ว, 2553, น.8-9) เครื่องมือที่ใช้ใน
น. 7) ได้แก่ 1) ด้านต้นทุนการผลิต (Input) 2) ด้านกระบวนการ การเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม โดยแบ่งออกเป็น 5
บริหาร (Process) และ 3) ด้านผลลัพธ์ (Output) ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
จากเหตุผลที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ผู้วิจัยสนใจที่จะศึกษา ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับสถานศึกษาสังกัดส านักงาน
ผลกระทบของระบบการควบคุม ภายในที่มีต่อประสิทธิภาพการ คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดย
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการ ลักษณะของแบบสอบถาม เป็ นแบบตรวจสอบรายการ
อาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (Checklist) ตอนที่ 3 ระดับปฏิบัติการระบบการควบคุมภายใน
ทดสอบว่าระบบการควบคุมภายในมีผล กระทบต่อการ ของสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
ปฏิบัติงานในสถานศึกษาสังกัดส านักงานคณะกรรมการการ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนที่ 4 ระดับปฏิบัติการเกี่ยวกับ
อาชีวศึกษา ภาคตะวันออก เฉียงเหนือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัย ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานในสถานศึกษาสังกัดส านักงาน
สามารถน าไปใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการก าหนดแนวทาง คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบ
เพื่อวางแผนพัฒนาปรับปรุงกระบวนการควบคุมภายใน ให้ มาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) และตอนที่ 5 ข้อคิดเห็น
บรรลุวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มี และข้อเสนอแนะ
มาตรฐานและเชื่อถือได้ ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อสถานศึกษา ผู้วิจัยส่งแบบสอบถามจ านวน 184 ชุด เมื่อครบก าหนดใน
ในสังกัดส านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาค การเก็บแบบสอบถาม จัดเก็บได้จริง 176 คน คิดเป็นร้อยละ 95
ตะวันออกเฉียงเหนือต่อไป ขาดหายและไม่สมบูรณ์ 8 ฉบับ ซึ่งสอดคล้องกับ Aaker,
Kumar and Day (2001) ได้น าเสนอว่าการส่งแบบสอบถามต้อง
4. วิธีด าเนินการวิจัย
มีอัตราตอบกลับอย่างน้อยร้อยละ 20 จึงจะถือว่ายอมรับได้
4.1 สมมติฐานของการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ (Frequency)
ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ระบบการควบคุมภายใน มีผลกระทบกับ (Standard Deviation) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณ
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรที่ปฏิบัติงานด้าน (Multiple Correlation Analysis) และการวิเคราะห์ถดถอยเชิง
งานการเงินและบัญชีในสถานศึกษาสังกัดส านักงาน พหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4.2 วิธีด าเนินการวิจัย
ประชากร (Population) ที่ ใช้ใน การวิจัย ได้แก่
สถานศึกษาในสังกัดส านักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษา
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตามหน่วยงานที่สังกัด จ านวน 112
แห่ง รวมจ านวน 615 คน (ส านักงานคณะกรรมการการ
3
607