Page 116 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 116

๑๐๙




                                 ¢Ñé¹μ͹¡Òû¯ÔºÑμÔ ¡ÒäǺ¤ØÁ áÅСÒÃμÃǨÊͺ¡Òû¯ÔºÑμÔ
                                 (๑)  เรียกแถวตรวจยอดกําลังพล  ตรวจความพรอมของเจาหนาที่ตํารวจ

                 ผูปฏิบัติ รวมทั้งอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชในการตั้งจุดตรวจ
                                 (๒)  อบรมชี้แจงสถานภาพอาชญากรรมการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ตํารวจ
                 ในชวงเวลาที่ผานมา แนวนโยบายและคําสั่งของผูบังคับบัญชา และขอราชการตางๆ ที่เกี่ยวของ
                                 (๓)  กําหนดตัวเจาหนาที่ตํารวจผูปฏิบัติในแตละสวนของพื้นที่จุดตรวจ และทําความ

                 เขาใจกับบทบาทหนาที่ของแตละคนใหชัดเจน
                                 (๔)  การตั้งจุดตรวจหรือจุดสกัด ใหรายงานทางศูนยวิทยุ ใหผูบังคับบัญชาทราบ

                 เมื่อเริ่มตนและเลิกปฏิบัติ
                                 (๕)  เมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติใหรายงานผลการปฏิบัติเปนลายลักษณอักษร
                 เสนอผูบังคับบัญชาตามลําดับชั้นจนถึงผูอนุมัติ ภายในวันถัดไปเปนอยางชา
                                 (๖)  ใหผูบังคับบัญชาตั้งแตระดับสารวัตรขึ้นไป ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันควบคุม

                 การปฏิบัติ รวมทั้งรายละเอียดเกี่ยวกับลักษณะและพฤติการณแหงการกระทําผิดใหละเอียดชัดเจน
                                 (๗)  ในระหวางการปฏิบัติหนาที่ตรวจคนของเจาหนาที่ผูปฏิบัติ ผูที่ทําหนาที่เปน

                 ผูควบคุมจะตองกํากับดูแลใหเปนไปตามระเบียบกฎหมาย เพื่อมิใหเจาหนาที่ผูปฏิบัติแสวงหาประโยชน
                 โดยมิชอบเกิดขึ้นระหวางการปฏิบัติหนาที่


                  ¢ŒÍ¤ÇÃÃÐÇѧ
                          ๑)  ไมควรตั้งจุดตรวจหรือจุดสกัดในบริเวณทางโคง เชิงสะพาน ที่ลาดชัน และบริเวณที่

                  เปนมุมอับสายตา เพื่อปองกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากการมองไมเห็นของผูขับขี่ หรือการหยุดรถ
                  ไมทันในระยะกระชั้นชิด

                          ๒)  ในเวลากลางคืน ตองมีแสงสวางอยางพอเพียง ใหผูขับขี่เห็นไดในระยะไกล อุปกรณ
                  แสงสวางตองหมั่นตรวจสอบและปรับปรุงใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพอยูเสมอ
                          ๓)  ในการเรียกรถใหหยุด ไมวากรณีใดๆ อยาเอาตัวหรือสวนของรางกาย เชน แขน ขา
                  เขาไปขวางหรือสกัดกั้นใหรถหยุด เพราะอาจถูกชนจากรถที่หยุดไมทัน ระหวางการตรวจคนใน

                  “เขตพื้นที่ปลอดภัย” อยายืนขวางหนารถที่กําลังตรวจคน เพราะอาจจะถูกรถชนได กรณีผูตองสงสัย
                  พยายามขับรถหลบหนีการตรวจคน

                          ๔)  ในกรณีที่ผูขับขี่พยายามขับขี่รถฝาจุดตรวจเพื่อหลีกเลี่ยงการตรวจคน เจาหนาที่
                  ตํารวจประจําจุดตรวจไมควรสรางสิ่งกีดขวางขึ้นอยางกะทันหัน เชน ขับรถเขาขวาง หรือเข็นแผง
                  ปายสัญญาณขวางทางเพื่อพยายามหยุดรถ เพราะอาจจะทําใหผูขับขี่หยุดรถไมทันแลวหักหลบ
                  สิ่งกีดขวางจนเกิดอุบัติเหตุเฉี่ยวชนประชาชนหรือเจาหนาที่ตํารวจที่ปฏิบัติหนาที่บริเวณจุดตรวจได

                          ๕)  ในกรณีที่สงสัยวาคนรายอาจมีอาวุธอยูในรถ เจาหนาที่ตํารวจทั้งชุดตรวจคน
                  และชุดคุมกันควรหาที่กําบังในขณะที่รถเขามาในบริเวณจุดสกัด และอาจใชเครืื่องขยายเสียง

                  จากรถยนตสายตรวจบังคับรถเพื่อตรวจคน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121