Page 117 - 02_สทธมนษยชนกบการปฏบตงานของตำรวจ_Neat
P. 117

๑๑๐




                         õ. ¡ÒäǺ¤ØÁ½Ù§ª¹/¡ÒûÃÒº¨ÅÒ¨Å
                              ËÅÑ¡¡ÒÃ

                             (๑)  หลักการที่เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพของผูชุมนุม  ประชาชนพลเมืองทุกคน
              ยอมมีสิทธิเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจํากัดเสรีภาพจะกระทํามิได เวนแต
              โดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย เฉพาะในกรณีการชุมนุมสาธารณะและเพื่อคุมครอง
              ความสะดวกของประชาชนที่จะใชที่สาธารณะ หรือเพื่อรักษาความสงบเรียบรอยในระหวางเวลาที่ประเทศ

              อยูในภาวะสงครามหรือในระหวางเวลาที่มีประกาศสถานการณฉุกเฉินหรือประกาศใชกฎอัยการศึก
              บุคคลยอมมีเสรีภาพในการเปนสมาคม สหภาพ สหพันธ สหกรณกลุมเกษตรกร องคการเอกชน

              องคการพัฒนาเอกชนหรือหมูคณะอื่น ขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐยอมมีเสรีภาพในการรวมกลุม
              เชนเดียวกับบุคคลทั่วไป แตทั้งนี้ตองไมกระทบกับประสิทธิภาพในการบริหารราชการแผนดิน และ
              ความตอเนื่องในการจัดทําบริการสาธารณะ ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ การจํากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง
              และวรรคสองจะกระทํามิได เวนแตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติกฎหมาย เฉพาะเพื่อคุมครอง

              ประโยชนสวนรวมของประชาชน เพื่อรักษาความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
              หรือเพื่อปองกันมิใหมีการผูกขาดตัดตอนในทางเศรษฐกิจผูชุมนุมจะตองระมัดระวังใหการชุมนุม

              อยูภายใตขอบเขตของกฎหมาย มิฉะนั้นหากมีการกอความวุนวาย ใชกําลังขวางปาทําลายสิ่งของ
              ของบุคคลอื่นหรือกีดขวางทางสัญจรจนเกิดความเดือดรอนรําคาญ อาจเปนความผิดตามกฎหมาย
              ซึ่งเจาพนักงานอาจกลาวอางเปนความผิดได ทั้งตามประมวลกฎหมายอาญา พระราชบัญญัติจราจร
              ทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ และพระราชบัญญัติควบคุมการโฆษณาโดยใชเครื่องขยายเสียง พ.ศ.๒๔๙๓

                             (๒)  หลักสิทธิมนุษยชนตามกติการะหวางประเทศเนื่องจากประเทศไทยเปนสมาชิก
              ขององคการสหประชาชาติ จึงตองระมัดระวังมิใหมีการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนขึ้น มิฉะนั้นอาจถูก

              รองเรียน หรือสงรายงานการลวงละเมิดสิทธิมนุษยชนตอคณะกรรมาธิการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
              และสหประชาชาติอาจดําเนินมาตรการที่มีผลกระทบตอประเทศไทยได นอกจากนี้ การที่ประเทศไทย
              ไดเขาเปนภาคีกติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง พ.ศ.๒๕๐๙
              ประเทศไทยจึงมีพันธกรณีที่จะตองพัฒนากฎหมายและดําเนินการใหสอดคลองกับบทบัญญัติ

              แหงกติกาดังกลาว ซึ่งไดแก
                                  (๒.๑)  ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนสหประชาชาติ  พ.ศ.๒๔๙๑

              (Universal Declaration of Human Rights, ๑๙๔๘) ขอ ๒๐(๑) บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพ
              แหงการชุมนุมและการสมาคมโดยสงบ
                                  (๒.๒)  กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง

              พ.ศ.๒๕๐๙ (International Covenant on Civil and Political Rights, ๑๙๖๖) ขอ ๒๑ สิทธิใน
              การรวมประชุมโดยสงบยอมไดรับการรับรอง การจํากัดการใชสิทธินี้จะกระทํามิไดนอกจากจะกําหนด
              โดยกฎหมายและเพียงเทาที่จําเปนสําหรับสังคมประชาธิปไตยเพื่อประโยชนแหงความมั่นคงของชาติ

              หรือความปลอดภัย ความสงบเรียบรอย การสาธารณสุข หรือศีลธรรมของประชาชน หรือการคุมครอง
              สิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122