Page 54 - รวมเล่ม ผลการตรวจเยี่ยมสถานะการเป็นระบบราชการ 4.0
P. 54

ผลการประเมิน                          ข้อเสนอแนะ/แนวทางการพัฒนา

                  หมวด 3 การให้ความส าคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                  * มีการค้นหาข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ   * ควรน าข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวกับผู้รับบริการ และผู้มี

                    ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ที่รวบรวมมาจากช่องทางต่างๆ ทั้ง     ส่วนได้ส่วนเสีย น ามาเป็นข้อมูลในการปรับปรุงและ
                    ทาง Facebook/ Website/ QR Code/ Line และ การประชุม     ก าหนดยุทธศาสตร์

                    แต่ยังไม่เป็นระบบ
                  * มีการน า IT มาใช้ในการประเมินความพึงพอใจและ  * ควรมีการประเมินความพึงพอใจและความผูกพัน ให้ครบ

                    ความผูกพัน 2 กระบวนงานตามค ารับรองการปฏิบัติ     ทุกกระบวนงานตามภารกิจหลัก รวมทั้งครบทุกกลุ่มของ

                    ราชการ แต่ยังไม่ครบทุกกระบวนงาน ผ่านทาง      ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
                    Website และ QR Code

                  * มีการวิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินความพึงพอใจ น ามา  * ควรน า IT มาใช้ในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการท างาน

                    ปรับปรุงกระบวนการท างาน และมีผู้รับผิดชอบชัดเจน     และก าหนด KPI ในการก ากับติดตามผลการด าเนินการ
                  * มีการพัฒนา E-Certificate การสอบเทียบเครื่องมือแพทย์  * ควรมีการพัฒนา ปรับปรุง สร้างนวัตกรรมการบริการที่

                                                                 ตอบสนองผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเฉพาะกลุ่ม

                                                                 และบุคคล
                  * มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดการข้อร้องเรียนแต่ยังไม่  * ควรน าระบบการจัดการข้อร้องเรียนของกรมฯ มาเป็น

                    เป็นระบบ และขาดการเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง    มาตรฐานการปฏิบัติงานและเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล
                    ในพื้นที่ ได้แก่ ศูนย์ด ารงธรรม และ สสจ.     กับศูนย์ด ารงธรรม และ สสจ.

                  หมวด 4 การวัดวิเคราะห์ และจัดการความรู้

                  * มีการจัดท าฐานข้อมูลของหน่วยงาน เช่น ข้อมูล   * ควรมีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศตามความต้องการใช้งาน
                    เครื่องมือแพทย์ และ อสม. แต่ยังไม่มีการน าข้อมูล     ที่ส าคัญ และควรมีการน าข้อมูลมาใช้ประกอบการวางแผน

                    มาใช้ในการวางแผนและติดตามอย่างเป็นระบบ        งาน โครงการ และติดตามอย่างเป็นระบบ

                  * มีการก าหนดระดับความส าคัญของ KPI และมีการก ากับ  * การก ากับติดตาม KPI ควรใช้ IT มาช่วย ควรใช้
                     ติดตาม KPI อย่างต่อเนื่องทางเอกสารเป็นส่วนใหญ่    ระบบ SMART และ Cockpit ของกรมฯ ในการ

                  * ยังไม่มีการน า IT มาใช้ในการก ากับติดตาม และ     รายงาน ติดตามตัวชี้วัด เพื่อแก้ไขปัญหา
                    ตัวชี้วัดที่ส าคัญ                           กระบวนงานต่างๆในหน่วยงานได้อย่างทันท่วงที

                  * มีการวิจัยและพัฒนางานทั้งงานบริการและงานสนับสนุน  * ควรมีระบบการติดตามผลการเผยแพร่องค์ความรู้

                    อย่างต่อเนื่อง                                ผลงานวิจัยอย่างต่อเนื่องในรพ.ชุมชนขนาดเล็กทั้ง 5 แห่ง
                  * KM มีการด าเนินการแต่ยังไม่เป็นระบบและขาดการ  * ควรมีการศึกษาแนวทางและวางระบบ KM ของ

                    ติดตามผลของการSharing KM (การส ารวจปริมาณการ     หน่วยงานอย่างเป็นระบบ

                    แพร่กระจายรังสี X-ray ใน รพ.ชุมชนขนาดเล็ก)
                  * มีการส ารองข้อมูลของหน่วยงาน รวมทั้งมีการเก็บข้อมูล * ควรมีการส ารองข้อมูลหน่วยงานให้เป็นปัจจุบัน

                  เป็นรายไตรมาส                                เพื่อความสะดวกและความปลอดภัยของข้อมูล



                                                           41
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59