Page 36 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 36
36 | ห น า
“คุณเอื้อจิต กําลังติดประชุมคะ จะมีอะไรสั่งหรือฝากไวหรือเปลาคะ ฯลฯ”
4. ถาเกิดขอผิดพลาดหรือมีปญหาในขณะใชโทรศัพทควรกลาวคําขอโทษและรีบ
ชี้แจงขอขัดของใหทราบ
“ขอโทษครับ คุณตอผิดครับ” หรือ
“ไมเปนไรครับ”
5. การพูดโทรศัพททุกครั้ง ตองพูดอยางสุภาพใชน้ําเสียงใหพอดีสั้นกระชับไดใจความและตรง
ประเด็น อยาพูดเร็วหรือใชเสียงดังเกินไป ไมพูดเรื่องไรสาระยืดยาวเพราะจะเสียคาบริการมาก และเสีย
มารยาททําใหผูอื่นที่จะใชโทรศัพทเครื่องนั้นตองคอย
6. การรับโทรศัพทแทนคนอื่น และผูโทรศัพทติดตอฝากขอความไวตองจดบันทึกขอความให
ครบถวน และอาจขอรายละเอียดเพิ่มเติมใหชัดเจน เมื่อจดบันทึกแลวควรอานทานใหผูที่ติดตอมาฟง
เพื่อตรวจสอบความถูกตองวาครบถวนตามความประสงคหรือไม หากไมครบถวนจะไดเพิ่มเติมและตอง
ลงชื่อผูบันทึกพรอม วัน เวลาที่รับโทรศัพท
การพูดตอชุมชน
1. เปนวิธีที่สะดวกรวดเร็วที่จะเผยแพรความคิดเห็นของบุคคลตอสาธารณชนไดอยางกวาง
ขวาง ความคิดเห็นนี้อาจเปนไดทั้งในทางสนับสนุน และคัดคาน
2. เปนวิธีการหนึ่งในการถายทอดวัฒนธรรมการปลูกฝงคุณธรรม การเผยแพร
ความรู และวิทยาการใหมๆ สูประชาชน เชน เรื่องเกี่ยวกับวัฒนธรรมพื้นบาน ปาฐกถาธรรม การเผยแพร
ความรูทางการเกษตร การอุตสาหกรรม เปนตน
3. เปนวิถีทางที่ทําใหมนุษยสามารถชี้แนะการแกปญหาสิ่งแวดลอม ปญหาการจราจร ปญหา
ทางดานเศรษฐกิจ เปนตน
นอกจากการพูดตอชุมชนโดยการประชุมรวมกัน หรือการพูดในที่สาธารณะ เชน การหาเสียง
การพูดโฆษณาสินคาตางๆ แลว ยังมีการพูดอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเปนการพูดผานสื่อมวลชน โดยผานทางโทร
ทัศนหรือวิทยุ ผูเรียนเคยเห็นเคยฟงวิธีการพูดเชนนี้มาบางแลว อาทิ การพูดสัมภาษณ การเปนพิธีกร การ
สนทนา การโฆษณา การเลาเรื่อง เปนตน
การพูดโดยผานสื่อมวลชน จะมีผูฟงหรือผูชมทั่วประเทศ ผูดําเนินรายการจะตองคํานึงถึงวิธีการ
พูดดังนี้
1. วิธีการพูดที่นาสนใจ เราใจ สนุกสนาน
2. ภาษาที่ใชตองสุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล กระชับเขาใจงาย
3. ใหเกียรติแกผูที่กําลังพูดดวยหรือผูที่กลาวถึง