Page 39 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 39

ห น า  | 39



                       4.  การรวบรวมเนื้อหาที่จะพูด  การพูดใหผูอื่นฟง ผูพูดตองเตรียมรวบรวมเนื้อหาใหดีเพื่อผูฟง
               จะไดรับประโยชนมากที่สุด  การรวบรวมเนื้อหาอาจทําไดโดยการศึกษา  คนควา  การไตถามผูรู การ

               สัมภาษณ และอาจใชอุปกรณชวย  เพื่อใหผูฟงเขาใจไดงายขึ้น

                       5.  การทําเคาโครงลําดับเรื่องที่จะพูด  เพื่อใหการพูดเปนไปตามลําดับขั้นตอนไมสับสน  ผูพูด

               ควรทําโครงเรื่อง ลําดับหัวขอใหดี  เพื่อกันการหลงลืมและชวยใหเกิดความมั่นใจในการพูด
                       6.  การฝกซอมการพูด  ผูพูดควรหาเวลาฝกซอมการพูดของตนเสียกอน  เมื่อถึงเวลาพูดจะไดพูด

               ดวยความมั่นใจ  ในการฝกซอมนั้นควรคํานึงถึงบุคลิกลักษณะ  ทายืนหรือนั่งกิริยาอาการ การใชเสียง กร

               ใชสายตา ถามีผูฟงอาจจะชวยติชมการพูดในขณะฝกซอมได


               กิจกรรมที่  4

                       1.  ใหผูเรียนฟงการสนทนาทางโทรทัศน  รายการที่สนใจและเปนรายการเดียวกัน เชน รายการ

               สนทนาปญหาบานเมือง  รายการตรงประเด็น  ฯลฯ  เมื่อฟงแลวใหผูเรียนบันทึกการพูดของผูดําเนิน
               รายการ  และผูรวมสนทนา วามีวิธีการพูดอยางไร  ภาษาที่ใชเหมาะสมหรือไม  มีการพูดกาวราวหรือ

               เสียดสีผูอื่นบางหรือไม ฯลฯ แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันในวันพบกลุม  หรือตัดตอข

               อความจากสื่อสิ่งพิมพมาอานและใหวิจารณขอความนั้น ๆ ก็ได

                       2.  ใหผูเรียนสังเกตการพูดใหขาวของบุคคลสําคัญและนักการเมืองแตละคนทางสถานีวิทยุและ
               โทรทัศน  แลวพิจารณาวาการใหขาว  หรือการแสดงความคิดเห็นนั้นควรเชื่อหรือไม  เพียงใด  เพราะเหตุ

               ใด  แลวนํามาสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน  เมื่อมีโอกาสพบปะกันหรือในวันพบกลุมผูเรียน อาจ

               จะฟงการพูดแสดงทรรศนะของนักการเมืองจากเทปบันทึกเสียงแลวนํามาสนทนากันก็ได
                       3. สมมติเหตุการณใหผูเรียนออกมาสนทนากันทางโทรศัพท ใหเพื่อนๆ วิจารณ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44