Page 43 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 43

ห น า  | 43



                       ใหผูเรียนฝกการพูดบรรยายความรูสึกตอเพื่อนหรือบุคคลที่เกี่ยวของในโอกาสอันควร ซึ่งอาจจะ
               เปนการพูดแสดงความยินดี แสดงความเสียใจหรือการพูดเพื่อปลอบใจโดยปฏิบัติตามหลักและวิธีการพูด

               บรรยายความรูสึกใหครบถวนแลวใหประเมินการพูดของตนเองดวย


                       การอภิปราย


                       ความหมายและความสําคัญของการอภิปราย

                       การอภิปราย หมายถึง การที่บุคคลคณะหนึ่งจํานวนตั้งแต 2 คนขึ้นไปรวมกันพูดแสดงความรู
               ความคิดเห็น และประสบการณ เพื่อใหเกิดความรู ความคิดใหม และกวางขวางเพิ่มขึ้นหรือชวยกันหา

               แนวทางและวิธีการในการแกปญหารวมกัน

                       การอภิปราย มีความสําคัญตอสังคมไทยเปนอยางยิ่ง เพราะเปนสังคมประชาธิปไตย  ซึ่งใหสิทธิ
               เสรีภาพแกคนในสังคมไดใชความรู    ความสามารถรวมกันในการวางแนวทางในการดําเนินชีวิต

               แนวทางในการแกปญหาในชุมชน สังคมและประเทศ

                       ปจจุบันไดนําเอาวิธีการอภิปรายมาใชอยางกวางขวาง    ทั้งในดานการศึกษาเลาเรียนการพัฒนา
               ชุมชน การอนุรักษและเผยแพรวัฒนธรรม การบริหารธุรกิจ การประกอบอาชีพ การปกครองทองถิ่นและ

               ประเทศ ฯลฯ

                       องคประกอบของการอภิปราย มีดังนี้

                       1.  หัวขอเรื่องหรือปญหาที่จะอภิปราย
                       2.  ผูฟง

                       3.  คณะหรือหนวยงานที่จัดการอภิปราย

                       4.  คณะผูอภิปราย
                       1.  หัวขอเรื่องหรือปญหาที่จะอภิปราย

                         ในการอภิปรายแตละครั้งจะตองมีหัวขอเรื่องที่จะอภิปรายเพื่อใหคณะอภิปรายไดแสดงความ

               รู  ความคิด  และประสบการณในเรื่องนั้น  ใหผูฟงเขาใจใหความรูใหมและไดความรูความคิดที่กวาง

               ขวางขึ้นหรือไม    ก็ตองมีประเด็นปญหาที่นาสนใจที่คณะผูอภิปรายจะไดแสดงความรูความคิดและ
               ประสบการณ  ที่จะใชเปนแนวทางในการแกปญหานั้นๆ  รวมกัน    หัวขอเรื่องหรือประเด็นปญหาที่จะ

               นํามาอภิปรายจะตองมีคุณคาและมีประโยชนตอกลุมผูฟง  ซึ่งการเลือกหัวขอเรื่องและประเด็นปญหาใน

               การอภิปรายมีหลักในการเลือกดังนี้
                         1.  เปนเรื่องและปญหาที่สําคัญ มีสาระที่เปนประโยชนตอทุกฝาย

                         2.  เปนเรื่องและปญหาที่อยูใหความสนใจของผูฟงและผูอภิปราย
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48