Page 47 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 47

ห น า  | 47



               เอง  โดยมีคณะกรรมการเปนผูพิจารณาตัดสินวาฝายใดมีเหตุผลดีกวา  ฝายใดชนะหรือเสมอกัน  การโต
               วาทีไมมีการใหเวลาผูฟงไดรวมแสดงความคิดเห็นเหมือนการอภิปรายประเภทอื่น

                       การโตวาที    เปนกิจกรรมการพูดที่มีความสําคัญในเชิงของการใชศิลปะการพูดเพื่อแสดง

               ทรรศนะ  เพื่อการชักจูงใจและการโตแยง  เปนการฝกฝนการแสดงวาทศิลปชั้นสูง  ฝกการยอมรับฟง
               เหตุผล มีน้ําใจเปนนักกีฬา  และรูจักเคารพกติกาเกี่ยวกับการพูด ซึ่งปกติเราไมคอยจะมีกัน การโตวาทีมี

               จุดประสงคที่แทจริงดังที่กลาวมามากกวาการจัดเพื่อความบันเทิง

                       ปจจุบันมีการจัดกิจกรรมการพูดโตวาทีอยูเสมอโดยเฉพาะทางสื่อมวลชน เชนรายการ  ยอวาที

               แซววาที ฯลฯ  แตดูเปนการใชคารมคมคายมากกวาการใชวิธีการแหงปญญา  ไมไดสงเสริมการเพิ่มพูนภู
               มิปญญา  เพียงแตมุงความบันเทิงมากกวาสาระความรู





                       องคประกอบของการโตวาที


                       การโตวาทีเปนการพูดอภิปรายสาธารณะ  จึงมีการแยกกลุมผูพูดออกจากผูฟงและไมเปดโอกาส

               ใหผูฟงไดมีสวนรวมในการพูดอาจจะมีพียงถามความเห็นในการตัดสินดวยการขอเสียงปรบมือเทานั้น

               องคประกอบของการโตวาทีมีดังนี้
                       1.  ญัตติ คือ หัวขอการโตวาทีหรือประเด็นปญหาที่กําหนดขึ้น  ซึ่งเปนขอที่ผูพูดทั้งสองฝายมี

               ความเห็นไมตรงกัน  หรืออาจจะกําหนดใหเห็นไมตรงกัน  หยิบยกมาใหอภิปรายโตแยงกัน

                       ญัตติที่ควรนํามาโตวาทีควรมีลักษณะดังนี้

                       1.  เปนเรื่องที่คนสวนใหญใหความสนใจและมีสวนเกี่ยวของหรือมีผลกระทบและเกิดประโย
               ชนตอคนในสังคมเหลานั้น

                       2.  เปนเรื่องใหความรู มีคุณคาในการสงเสริมความรู ความคิดและสงเสริมเศรษฐกิจ การเมือง

               การปกครอง
                       3.  เปนเรื่องสงเสริมศิลปวัฒนธรรม  และไมขัดตอศีลธรรมอันดีงามไมเปนภัยตอสังคม

                       4.  เปนเรื่องที่จะนําไปสูขอตกลงที่จะดําเนินการไดหรือสามารถนําผลของการโตวาทีไปใชใน

               การแกปญหาหรือใชประโยชนดานอื่นๆ ได
               (ควรหลีกเลี่ยงญัตติที่ขาดลักษณะดังกลาวมา เชน ญัตติที่วา ขี้เมา ดีกวาเจาชู  พอคาดีกวาขาราชการ ฯลฯ

               ซึ่งเปนญัตติที่ไมไดประโยชนไรสาระ)

                       2.  ประธานการโตวาทีและคณะผูตัดสินใจ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52