Page 38 - ภาษาไทย ม.ปลาย
P. 38

38 | ห น า



                         ค.  โอกาสที่ไมเปนทางการ เชน การสังสรรคกับเพื่อนเกา  การเลาเรื่องตลกใหที่ประชุมการ
               พบปะสังสรรคกับเพื่อนรวมงานเนื่องในวันขึ้นปใหม เปนตน

                       5.  แบงตามรูปแบบ มีดังน ี้

                         ก.  การสนทนาตอหนาชุมชน คือ รูปแบบที่มีผูพูดสองคนหรือมากกวานั้นสนทนาซึ่งกันและ

               กัน เชน รายการสนทนาปญหาบานเมือง
                         ข.  การปาฐกถา  ผูปาฐกถาเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ไดศึกษาคนความาอยางละเอียด

                         ค.  การอภิปรายเปนคณะ คือ การพูดของคณะบุคคลประมาณ 3 – 5 คน พูดแสดงความรู และ

               แลกเปลี่ยนความคิดเห็นตอหนาผูฟงเปนจํานวนมาก

                         ง.  การซักถามหนาที่ประชุม        คือการพูดหนาประชุมโดยแบงผูพูดออกเปน
               2  กลุม  กลุมหนึ่งเปนตัวแทนของผูฟง  จํานวน  2  –  4  คน  มีหนาที่ซักถาม  อีกกลุมหนึ่งเปนวิทยากร

               ประมาณ 2 – 4 คน เปนผูตอบคําถาม

                         จ.  การโตวาท ี เปนการพูดโตแยงระหวางบุคคล 2 ฝาย ฝายหนึ่งเปนฝายเสนอญัตติ อีกฝาย

               หนึ่งเปนฝายคาน  มีกรรมการตัดสินชี้ขาดใหฝายหนึ่งฝายใดเปนฝายชนะหรือเสมอ
                       การเตรียมการพูดตอหนาชุมชน


                       การพูดตอหนาชุมชนนั้น    ผูฟงสวนมากก็ตั้งความหวังไววาจะไดรับความรูหรือประโยชนจาก

               การฟง  ผูพูดจึงตองเตรียมตัวเปนอยางดี เพราะการเตรียมตัวจะชวยใหผูพูดมีความมั่นใจกลาที่จะแสดง

               ความคิด  ความเห็น  การพูดดวยความมั่นใจยอมจะทําใหผูฟงเกิดความเชื่อถือ  ประทับใจใน
               การพูด


                       ผูพูดแตละคนอาจใชวิธีการเตรียมตัวไดตางๆ กัน ดังนี้
                       1.  การกําหนดจุดมุงหมายของการพูด ผูพูดควรกําหนดใหชัดเจนทั้งจุดมุงหมายทั่วไป  และจุด

               มุงหมายเฉพาะเรื่อง     เชน    การใหเลาประสบการณเกี่ยวกับการทํางาน       จุดมุงหมาย

               ทั่วไปคือใหความรู จุดมุงหมายเฉพาะ คือ วิธีการทํางานและอุปสรรคตางๆ ที่ไดพบ

                       2.  การวิเคราะหผูฟง  กอนที่จะพูดทุกครั้งผูพูดควรจะไดพิจารณาผูฟงอยางละเอียดวาผูฟงสวน

               ใหญสนใจหรือชอบเกี่ยวกับเรื่องใด  โดยผูพูดควรเตรียมขอมูลและการใชภาษาใหเหมาะกับเพศวัย
               สถานภาพทางสังคม (โสดหรือมีคูสมรสแลว) อาชีพพื้นความรู ความสนใจตลอดจนทัศนคติของกลุมผูฟ

               ง

                       3.  การกําหนดขอบเขตของเรื่องที่จะพูด  ผูพูดตองมีเวลาเตรียมตัวในการพูด  ผูพูดจึงควร
               พิจารณาเรื่องที่จะพูดวา  ตนเองมีความรูในเรื่องนั้นๆ เพียงใด หากไมมีความรูเพียงพอก็ควรหาความรู

               เพิ่มเติม  และกําหนดขอบเขตของเรื่องใหเหมาะกับผูฟง เชน เปนเด็กเล็ก เปนวัยรุน หรือเปนผูใหญ เป

               นตน
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43