Page 48 - คณิตศาสตร์ ม.ปลาย
P. 48

48



                   เรื่องที่  3  แผนภาพเวนน - ออยเลอรและการแกปญหา

                          3.1 แผนภาพเวนน - ออยเลอร

                          การเขียนแผนภาพแทนเซตชวยใหเขาใจเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางเซตชัดเจนยิ่งขึ้น  เรียก

                   แผนภาพแทนเซตวา  แผนภาพของเวนน-ออยเลอร  เพื่อเปนเกียรติแกนักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ จอหน
                   เวนน (John Venn พ.ศ.2377-2466) และนักคณิตศาสตรชาวสวิส  เลโอนารด ออยเลอร (Leonard Euler

                   พ.ศ. 2250-2326) ซึ่งเปนผูคิดแผนภาพเพื่อแสดงความสัมพันธระหวางเซต

                                การเขียนแผนภาพของเวนน-ออยเลอร (Venn-Euler)  เพื่อแสดงความสัมพันธระหวางเซตนิยม
                   เขียนรูปสี่เหลี่ยมมุมฉากแทนเอกภพสัมพัทธ (U) และใชรูปวงกลม วงรี  หรือรูปปดใด ๆ แทนเซต

                   ตางๆ  ซึ่งเปนสับเซตของ U  ลักษณะตาง ๆ ของการเขียนแผนภาพ มีดังนี้

























                          ซึ่งแผนภาพเวนน-ออยเลอร เมื่อนํามาใชกับการดําเนินการบนเซตแลวนั้นจะทําใหผูเรียนเขาใจ

                   ในเรื่องการดําเนินการบนเซตมากขึ้น ดังตัวอยางตอไปนี้


                   ยูเนียน (Union)     สามารถใชแผนภาพของเวนน-ออยเลอร  แสดงใหเห็นกรณีตาง ๆ ของเซตใหมที่เกิด

                   จาก       ไดจากสวนที่แรเงา  ดังนี้

                                                             (ระบายพื้นที่ของทั้งสองเซตไมวาจะมีพื้นที่ซ้ํากันหรือไมซ้ํากัน)
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53