Page 89 - ตำนานการสวดพระมาลัย
P. 89
๘๓
ึ้
เหมือนดอกบัว และเวลาเดินมีดอกบัวผุดขนรองรับทกย่างก้าว อนึ่ง ในพระมาลัยกลอนสวดมีข้อความ
ุ
เพิ่มเติมถึงพระมาลัยว่า เมื่อเวลาอันควรได้เข้าสู่ปรินพพาน
ิ
๒.การเปรียบเทียบด้านลักษณะคําประพันธ์
ลักษณะคําประพันธ์ของทั้ง ๓ เรื่องแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง ดังจะยกมากล่าวทีละเรื่อง
ตามลําดับดังน ี้
้
ก. ลักษณะคําประพันธ์ของมาเลยเทวัตเถรตามตนฉบับเดิม คือ ต้นฉบับภาษาบาลี ลักษณะ
คําประพันธ์เป็นร้อยแก้วบรรยายเรื่อง และสลับด้วยฉันท์ป๎ฐยาวัตร เป็นตอนๆ ส่วนฉบับแปลเป็นร้อย
แก้วโดยตลอด
ข. ลักษณะคําประพันธ์ของพระมาลัยคําหลวง เป็นร่ายโบราณสลับกับร่ายสุภาพและจบด้วย
โคลงสี่สุภาพ โดยใช้โคลงสี่สุภาพเป็นบทนําเรื่อง และจบเรื่อง ใชร่ายโบราณและร่ายสุภาพบรรยาย
้
เรื่อง มีดังน ี้
- ร่ายโบราณ ๒๗ บท
- ร่ายสุภาพ ๑๘ บท
- โคลงสี่สุภาพ ๖ บท
จะเห็นได้ว่าการแต่งร่ายที่ปรากฎอยู่ในพระมาลัยคําหลวง มีลักษณะเดียวกันกับการแต่งร่ายที่ปรากฎ
อยู่ในวรรณคดีศาสนาทั่วๆไป เชน ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ฯลฯ คอ ยกคาถาภาษาบาลีขึ้นสลับ
่
ื
กับการบรรยายเป็นภาษาไทย