Page 114 - วทยทษะ
P. 114

110



                   .1.3 การดุลสมการเคมี


                         การดุลสมการ คือ การเติมตัวเลขที่เหมาะสมหน้าสัญลักษณ์หรือ


               สูตรของสาร  เพื่อทําให้จํานวนอะตอมของแต่ละธาตุในสารตั้งต้นเท่ากับ


               ในผลิตภัณฑ์ โดยมีหลักการง่ายๆ ดังนี้


                       1. เริ่มต้นทําจํานวนอะตอมของธาตุต่าง  ๆ ในโมเลกุลใหญ่ที่สุดให้


               เท่ากันก่อน (ถ้าในโมเลกุล นี้มีธาตุอิสระที่เป็นองค์ประกอบอยู่ด้วย  ยังไม่


               ต้องดุลธาตุอิสระนั้น) จากนั้นจึงดุลอะตอมของธาตุในโมเลกุล  ที่เล็กลงมา


               ตามลําดับ


                       2. ถ้ามีธาตุอิสระในสมการต้องดุลธาตุอิสระเป็นกรณีสุดท้าย





                         +                              +  
                                                                         2
                                                                                 2
                           3
                                             2

                       จากสมการเคมีจะเห็นว่าโมเลกุลใหญ่ คือ CH,COOH ในโมเลกุลนี้


               มีธาตุ 0 ซึ่งเป็น ธาตุอิสระ เช่นเดียวกับ O, ดังนั้น การดุลสมการจะต้อง


               ดุลธาตุ C และ H ก่อน เสร็จแล้วจึงดุลธาตุ 0 เป็นตัว





               2. พลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี


                      การเกิดปฏิกิริยาเคมีจะมีพลังงานเข้ามาเกี่ยวข้องด้วยเสมอ  ถ้าใช้


               การถ่ายเทพลังงานเป็น จะแบ่งปฏิกิริยาเคมีออกเป็น 2 ชนิด ได้แก่


                     2.1 ปฏิกิริยาคายความร้อน (Exothermic Reaction)


                           ปฏิกิริยาชนิดนี้มีลักษณะสําคัญที่สังเกตได้ คือ เมื่อเกิดปฏิกิริยา


               เคมีจะทําให้ภาชนะ อุณหภูมิสูงขึ้น เพราะมีการถ่ายเทพลังงานความร้อน
   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119