Page 115 - วทยทษะ
P. 115

111



               ให้กับสิ่งแวดล้อม เช่น ปฏิกิริยาการเผาไหม้ของ เชื้อเพลิงต่าง ๆ ใน


               อุณหภูมิปกติจะไม่เกิดปฏิกิริยาการเผาไหม้เพราะพลังงานที่ใช้ในการ


               เกิดปฏิกิริยายังไม่เพียงพอ จึงต้องมีการให้พลังงานจํานวนหนึ่งเข้าไปก่อน


               เพื่อกระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยาและเมื่อเกิดปฏิกิริยาเคมีแล้วจะคายพลังงาน


               ความร้อนออกมามากกว่าพลังงานที่ใช้กระตุ้นให้เกิดปฏิกิริยา  เช่น


               ปฏิกิริยาการ เผาไหม้ของแก๊สมีเทน (CH)


                    2.2 ปฏิกิริยาดูดความร้อน (Endothermic Reaction)


                         ปฏิกิริยาชนิดนี้มีลักษณะสําคัญที่สังเกตได้  คือ เมื่อเกิดปฏิกิริยา


               เคมีจะทําให้ภาชนะ  มีอุณหภูมิตํ่าลง  เพราะมีการดูดพลังงานความร้อน


               จากสิ่งแวดล้อม เช่น ปฏิกิริยาระหว่างแก๊สไนโตรเจนกับ แก๊สออกซิเจน







               3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดปฏิกิริยาเคมี


                   ปฏิกิริยาเคมีจะเกิดขึ้นได้เร็วหรือไม่สามารถวัดได้จากอัตราการ


               เกิดปฏิกิริยา ซึ่งพิจารณาจากปริมาณ  ของสารตั้งต้นที่ลดลงหรือปริมาณ


               ของผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มมากขึ้นต่อหน่วยเวลา  ซึ่งอาจดูได้จากความเข้มข้น


               ปริมาตร หรือมวลของสารที่เปลี่ยนแปลงไปหลังจากเกิดปฏิกิริยา โดย


               เขียนสูตรแสดงความสัมพันธ์ได้ดังนี้



                อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี = ปริมาณสารตั้งต้นที่ลดลง



                                                = ปริมาณผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มขึ้น
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120