Page 13 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 13

6



                         2.  ผิวหนัง

                         ผิวหนังของคนเปนเนื้อเยื่อที่อยูชั้นนอกสุด ที่หอหุมรางกายเอาไว ผิวหนังของผูใหญคนหนึ่ง มีเนื้อที่
                         ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว ผิวหนังตามสวนตางๆ ของรางกาย จะหนาประมาณ 14 มิลลิเมตร

                         แตกตางกันไปตามอวัยวะ และบริเวณที่ถูกเสียดสี เชน ผิวหนังที่ศอก และเขา จะหนากวาผิวหนังที่

                         แขนและขา


                         โครงสรางของผิวหนัง

                                ผิวหนังของคนเราแบงออกไดเปน 2 ชั้น คือ หนังกําพราและหนังแท

                                1. หนังกําพรา (Epidemis) เปนผิวหนังที่อยู ชั้นบนสุด มีลักษณะบางมาก ประกอบไปดวย

                         เซลล เรียงซอนกันกันเปนชั้นๆ โดยเริ่มตนจากเซลลชั้นในสุด ติดกับหนังแท ซึ่งจะแบงตัวเติบโตขึ้น
                         แลวคอยๆ เลื่อย มาทดแทนเซลลที่อยูชั้นบนจนถึงชั้นบนสุด แลวก็กลายเปนขี้ไคลหลุดออกไป

                                นอกจากนี้ในชั้นหนังกําพรายังมีเซลล เรียกวา เมลนิน ปะปนอยูดวย เมลานินมีมากหรือ

                         นอยขึ้น อยูกับบุคคลและเชื้อชาติ จึงทําใหสีผิวของคนแตกตางกันไป ในชั้นของหนังกําพราไมมี
                         หลอดเลือด เสนประสาท และตอมตางๆ นอกจากเปนทางผานของรูเหงื่อ เสนขน และไขมันเทานั้น

                                2. หนังแท (Dermis)  เปนผิวหนังที่อยูชั้นลาง ถัดจากหนังกําพรา และหนากวาหนังกําพรา

                         มาก ผิวหนังชั้นนี้ประกอบไปดวยเนื้อเยื่อคอลลาเจน (Collagen) และอีลาสติน (Elastin) หลอดเลือด
                         ฝอย เสนประสาท กลามเนื้อเกาะเสนขน ตอมไขมัน ตอมเหงื่อ และขุมขนกระจายอยูทั่วไป



                         หนาที่ของผิวหนัง
                             1.  ปองกันและปกปดอวัยวะภายในไมใหไดรับ อันตราย

                             2.  ปองกันเชื้อโรคไมใหเขาสูรางกายโดยงาย

                             3.  ขับของเสียออกจากรางกาย โดยตอเหงื่อ ขับเหงื่อออกมา

                             4.  ชวยรักษาอุณหภูมิของรางกายใหคงที่ โดยระบบหลอดเลือดฝอยและการระเหยของเหงื่อ
                             5.  รับความรูสึกสัมผัส เชน รอนหนาว เจ็บ ฯลฯ

                             6.  ชวยสรางวิตามินดีใหแกรางกาย โดยแสง แดดจะเปลี่ยนไขมันชนิดหนึ่งที่ผิวหนังใหเปน

                                วิตามินดีได
                             7.  ขับไขมันออกมาหลอเลี้ยงเสนผม และขน ใหเปนเงางามอยูเสมอและไมแหง



                         การดูแลรักษาผิวหนัง

                                ทุกคนยอมมีความตองการมีผิวหนังที่สวยงาม สะอาด ไมเปนโรคและไมเหี่ยวยนเกินกวาวัย
                  ฉะนั้นจึงควรดูแลรักษาผิวหนังตัวเอง ดังนี้

                                1.  อาบน้ําชําระรางกายใหสะอาดอยูเสมอ โดย
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18