Page 16 - หนังสือเรียนสาระความรู้พื้นฐาน
P. 16

9



                  กระบวนการขับถายปสสาวะ

                         กระบวนการทํางานในรางกายของคนเราจะทําใหเกิดของเสียตางๆ ออกจากเซลลเขาสูหลอดเลือด
                  เชน ยูเรีย (Uria) แอมโมเนีย (Ammonia) กรดยูริก (Uric Acid) เปนตน แลวเลือดพรอมของเสียดังกลาว

                  จะไหลเวียนมาที่ไต ในวันหนึ่งๆ จะมีเลือดไหลผานไตเปนจํานวนมาก โดยเลือดจะไหลเวียนสูหลอดเลือด

                  ยอยที่อยูในไต ไตจะทําหนาที่กรองของเสียที่อยูในเลือด รวมทั้งน้ําบางสวนแลวขับลงสูทอไต ซึ่งเราเรียกน้ํา

                  และของเสียที่ถูกขับออกมานี้วา “น้ําปสสาวะ” เมื่อมีน้ําปสสาวะผานเขามา ทอไตจะบีบตัวเปนระยะๆ
                  เพื่อใหน้ําปสสาวะลงสูกระเพาะปสสาวะทีละหยด จนมีน้ําปสสาวะอยูในกระเพาะปสสาวะประมาณ      200

                  – 250 ซีซี กระเพาะปสสาวะจะหดตัวทําใหรูสึกเริ่มปวดปสสาวะ ถามีปริมาณน้ําปสสาวะมากกวานี้จะปวด

                  ปสสาวะมากขึ้น หลักจากนั้นน้ําปสสาวะจะถูกขับผานทอปสสาวะออกจากรางกายทางปลายทอปสสาวะ ใน
                  แตละวันรางกายจะขับน้ําปสสาวะออกมาประมาณ 1 – 1.5 ลิตร แตทั้งนี้ขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่เขาสูรางกาย

                  จากอาหารและน้ําดื่มดวยวามีมากนอยเพียงใด ถามีปริมาณมากของน้ําปสสาวะจะมีมาก ทําใหปสสาวะ

                  บอยครั้ง แตถาปริมาณน้ําเขาสูรางกายนอยหรือถูกขับออกทางเหงื่อมากแลว จะทําใหน้ําปสสาวะมีนอยลง

                  ดวย
                  การเสริมสรางและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ

                         1.  ดื่นน้ําสะอาดมากๆ อยางนอยวันละ 6 – 8 แกว จะชวยใหระบบขับถายปสสาวะดีขึ้น

                         2.  ควรปองกันการเปนนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะโดยหลีกเลี่ยงการรับประทานผักที่มีสารออก
                  ซาเลต (Oxalate) สูง เชน หนอไม ชะพลู ผักแพรว ผักกระโดน เปนตน เพราะผักพวกนี้จะทําใหเกิดการ

                  สะสมสารแคลเซียม ออกซาเลต (Calcium Oxalate) ในไตและกระเพาะปสสาวะได แตควรรับประทาน

                  อาหารประเภทเนื้อสัตว นม ไข ถั่วตางๆ เพราะอาหารพวกนี้มีสารฟอสเฟต (Phosphate) สูง จะชวยลดอัตรา
                  ของการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปสสาวะได เชน นิ่วในไต นิ่วในทอไต นิ่วในกระเพาะปสสาวะ

                         3.  ไมควรกลั้นปสสาวะไวนานจนเกินไป เพราะอาจทําใหเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดินปสสาวะ

                  ได

                         4.  เมื่อมีอาการผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินปสสาวะควรรีบปรึกษาแพทย


                  ระบบขับถายของเสียทางลําไสใหญ

                         รางกายมนุษยมีกลไกตางๆ คลายเครื่องยนต รางกายตองใชพลังงาน การเผาผลาญพลังงานจะเกิด
                  ของเสีย ของเสียที่รางกายตองกําจัดออกไปมีอยู 2 ประเภท

                         1.  สารที่เปนพิษตอรางกาย

                         2.  สารที่มีปริมาณมากเกินความตองการ

                         ระบบการขับถาย เปนระบบที่รางกายขับถายของเสียออกไป ของเสียในรูปแกสคือลมหายใจ
                         ของเหลวคือเหงื่อและปสสาวะของเสียในรูปของแข็งคืออุจจาระ
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21