Page 13 - Modern Management11
P. 13

นโยบายสาธารณะกับการบริหารจัดการสมัยใหม่

               นโยบายการพัฒนาบุ ลากร Development Policy

                        เป็นการก าหนดว่าจะต้องจัดให้มีฝึกอบรม  พัฒนาในเรื่องใดบ้าง  ให้กับใครบ้าง  ระยะเวลาเท่าไหร่
               ฝึกอบรมด้วยวิธีใด  On  the  Job/Off  the  Job  Traning  และการก าหนดวิธีในการประเมินผลการฝึกอบรม

               พัฒนา



               นโยบายการพัฒนาบุ ลากร ย่า  ป นระบบ  Systematic  Development  คือ  การจัดให้มีการพัฒนาบุคลากร

               ทั้งแบบป้ องกันและแก้ไข มุ่งเน้นการฝึกอบรม พัฒนาทักษะที่ส าคัญส าหรับงานในปัจจุบัน และอนาคต เน้น
               การเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ความช านาญ ปรับปรุงทักษะ เรียนรู้ทักษะใหม่



               นโยบายการฝึก บรม พัฒนา ต   ส ด ล   กับกลยุทธ ข      การ
                       เช่น  กลยุทธ์ที่เป็น  Cost  Leadership  HR  ต้องให้ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเทคนิค/เครื่องมือการจัดการ

               สมัยใหม่ที่มุ่งเน้นในการลดต้นทุน และเพิ่ม Productivites เช่น 6 Sigma,Zero Defect, TQM, Just in Time

                       จะต้องมี Communication Skill ในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ Learning Organization

               จะต้องรู้ว่า Knowledge อะไรบ้าง ที่พนักงานต้องรู้ A Must ต้องสรรหามาให้

                       สร้าง Commitment Culture ที่พนักงานมีภาวะผูกพันต่อวิสัยทัศน์/พันธกิจ/เป้ าหมายขององค์การ
               ในอันที่จะทุ่มเทความสามารถอย่างเต็มก าลังด้วยความมุ่งมั่นเพื่อไปให้ถึงหลักชัย

                       สร้าง Culture ที่ต้องเอื้อ และสอดคล้องกลยุทธขององค์การ

               เช่น กลยุทธ์ Cost Leadership วัฒนธรรมขององค์การก็ต้องเป็นวัฒนธรรมแบบ Cost Concious พนักงานมี
               จิตส านึกในการมุ่งลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต

                       Benchmarking การเทียบวัดเพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน

               กิจการจ าเป็นที่ต้องท าการเทียบวัดเพื่อให้รู้ว่าในปัจจุบันกิจการมีความสามารถในการแข่งขันในระดับใด

               ต้องท าหน้าที่ในการชี้ให้พนักงานในองค์การรู้ว่าเราอยู่ในจุดไหนแล้วต้องท าการเทียบวัดกับใคร  เพื่อเป็น

               การกระตุ้นสู่การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง Continuous Improvement for Best Practice Performance Apprisal
               ตามแน  ิด Maximization of Human Utilization360 Peformance Evaluation เป็นการประเมินผลจาก

               มุมมองที่รอบด้านทั้งจากการประเมินร่วมกันระหว่างพนักงาน และผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ลูกค้า และ

               บุคคลที่เกี่ยวข้อง   ท าให้บ่งบอกเกี่ยวกับการท างานว่าสามารถตอบสนองความต้องการทั้งภายใน   และ
               ภายนอกองค์การได้ดีมากน้อยอย่างไร

                       Objective  Serve  การประเมินที่มุ่งเน้นผลการท างานของพนักงานว่าเอื้อประโยชน์ต่อวัตถุประสงค์

               ขององค์การได้มากน้อยเพียงใด










               ดร. สุกฤตา  สุวรรณกฤติ
                                                                                                            13
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18