Page 17 - เครื่องดนตรีไทย
P. 17

กรับ




































                            ท าด้วยไม้ไผ่ซีก เหลาให้เรียบและเกลี้ยงเกลา เพื่อมิให้ผิวและเสี้ยนบาดและต ามือ รูปร่างแบนตาม


                         ซีกไม้ ไผ่และหนาตามขนาดของเนื้อไม่ เช่นหนาสัก ๑.๕ ซม. กว้างสัก ๓-๔ ซม. และตามยาว


                         ประมาณ ๔๐ ซม. ท าเป็น ๒ อัน หรือคู่ ใช้ตีให้ผิวกระทบกันทางด้านแบ เกิดเสียงได้ยินเป็น"กรับ-

                         กรับ-กรับ" และคงจะเนื่องด้วยเสียง นี้เองจึงเรียกเครื่องดนตรีชนิดนี้ว่า "กรับ" ต่อมาผู้ประดิษฐ์ท า


                         ด้วยไม้แก่นหือไม้จริงแต่ก็เหลาเป็นรูปแบนอย่างซีกไม้ไผ่ คงใช้ในลักษณะเดียวกับกรับไม้ไผ่

                                                                ระนาดเอกทุ้ม


























                           ระนาดทุ้ม เป็นเครื่องดนตรีที่คิดสร้างขึ้นในรัชกาลที่ ๓ กรุงรัตนโกสินทร์เลียนแบบ ระนาดเอก แต่ลูก


                  ระนาดก็คงท าด้วยไม้ชนิดเดียวกับระนาดเอก เป็นแต่เหลาลูกระนาด ให้มีขนาด กว้างและยาวกว่าลูกระนาด

                  เอก และประดิษฐ์รางให้มีรูปร่างต่างจากราง ระนาด คือมีรูปคล้ายหีบไม้ แต่เว้ากลางเป็นทางโค้งมี"โขน"ปิด


                  ทางด้านหัวและด้านท้าย วัดจากปลายโขนทางหนึ่งไปยังอีกทางหนึ่งยาวประมาณ ๑๒๔ ซม. ปากรางกว้าง


                  ประมาณ ๒๒ ซม. มีเท้าเตี้ยๆรอง ๔ มุมราง บางทีเท้าทั้ง ๔ นั้นท าเป็น ลูกล้อติดให้เคลื่อนย้ายได้ง่าย ลูก

                  ระนาดทุ้มมีจ านวน ๑๗ ลูก หรือ๑๘ ลูก ลูกต้นยาวประมาณ ๔๒ ซม. กว้าง ๖ ซม.ลูกต่อมาก็ลดหลั่นลงนิด


                  หน่อย และ ลูกยอดมีขนาดยาว๓๔ ซม. กว้าง๕ ซม. ไม้ตีก็ประดิษฐ์แตกต่างออกไปด้วย เพื่อต้องการให้มี

                  เสียงทุ้มเป็นคนละเสียงกับระนาดเอก จึงเลยบัญญัติชื่อเป็น ระนาดชนิดนี้ว่า "ระนาดทุ้ม
                                                                                                                                                 13
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22