Page 20 - เครื่องดนตรีไทย
P. 20

ฉิ่ง
































                          ฉิ่ง เป็นเครื่องตีท าด้วยโลหะ หล่อหนา เว้ากลาง ปากผายกลม รูปคล้ายถ้วยชาไม่มีก้น ส าหรับหนึ่งมี ๒ ฝา แต่ละฝาวัดผ่าน

                      ศูนย์กลางจากสุดขอบข้างหนึ่งไปสุดขอบอีกข้างหนึ่งประมาณ ๖ ซม. ถึง ๖.๕ ซม. เจาะรู ตรงกลางเว้าส าหรับร้อยเชือก เพื่อ

                      สะดวกในการถือตีการะทบกนให้เกิดเสียงเป็นจังหวะฉิ่งที่กล่าวนี้ใช้ส าหรับ ประกอบวงปี่พาทย์ ส่วนฉิ่งที่ใช้ส าหรับวง

                      เครื่องสายและวงมโหรี มีขนาดเล็กกว่านั้น คือ วัดผ่านศูนย์กลาง เพียง ๕.๕ ซม. ที่เรียกว่า "ฉิ่ง" ก็คงจะเรียกตามเสียงที่เกิดขึ้น

                      จาการเอาขอบของฝาหนึ่งกระทบเข้ากับฝาหนึ่งแล้งยกขึ้น จะได้ยินเสียงกังวานยาวคล้าย "ฉิ่ง - " แต่ถ้าเอา ๒ ฝานั้น กลับ

                      กระทบประกบกันไว้ จะได้ยินเสียงสั้นคล้าย "ฉับ" เครื่องตีชนิดนี้ ส าหรับใช้ในวงดนตรีประกอบการขับร้องฟ้อนร าและการ

                      แสดงนาฏกรรม โขน ละ คอน
                                                                             ฉาบ


































                               ฉาบเป็นเครื่องตีอีกชนิดหนึ่งท าด้วยโลหะเหมือนกัน รูปร่างคล้ายฉิ่งแต่หล่อบางกว่าฉิ่ง มี ขนาดใหญ่กว่าและ

                      กว้างกว่าตอนกลางมีปุ่มกลม ท าเป็นกระพุ้งขนาดวางลงในอุ้งมือ ๕นิ้ว ขอบนอกแบ ออกราบโดยรอบและเจาะรูตรง

                      กลางกระพุ้งเพื่อไว้ร้อยเส้นเชือกหรือหนังส าหรับถือ ต่อมาคิดท าเป็น ๒ ขนาด ขนาดเล็ก เรียกว่า " ฉาบเล็ก " ขนาด

                      ใหญ่เรียกว่า " ฉาบใหญ่ " ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางราว ๑๒ ถึง ๑๔ ซ.ม. ขนาดใหญ่เส้นผ่านศูนย์กลางราว ๒๓ ถึง ๒๖

                      ซ.ม. ใช้ขนาดละ ๒ อัน หรือขนาดละคู่ ตีกระทบกันให้เกิดจังหวะต้องการ ที่เรียกว่า" ฉาบ" เข้าใจว่าเรียกตามเสียงที่

                      กระทบกันขณะตีกระกบ แต่ถ้าตีเปิดจะได้เป็นเสียงคล้าย แฉ่งๆ
                                                                                                                                                 16
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25