Page 27 - 09_กฎหมายอนทเกยวของกบการปฏบตหนาท_Neat
P. 27

๒๐



                                   ò.ñ.ò ¹Ò¡ÃѰÁ¹μÃÕáÅÐÃѰÁ¹μÃÕáμ‹ÅФ¹
                                           นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีแตละคน เปนเจาหนาที่สายบริหาร

              ที่ไดรับอํานาจจากกฎหมายระดับรัฐธรรมนูญและกฎหมายระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ

              หรือพระราชบัญญัติเชนกัน ดังนั้นเฉพาะกรณีที่นายกรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีใชอํานาจตามกฎหมาย
              ระดับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญหรือพระราชบัญญัติเทานั้น ที่จะถือวานายกรัฐมนตรี
              หรือรัฐมนตรีกระทําการในฐานะฝายปกครอง เชน รัฐมนตรีวาการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ

              และสิ่งแวดลอม อาศัยอํานาจตาม พ.ร.บ.ปาไม พ.ศ.๒๔๘๔ เพิกถอนใบอนุญาตตั้งโรงงานแปรรูปไม
              ของเอกชนเปนการใชอํานาจในฐานะฝายปกครอง เปนตน

                                   ò.ñ.ó ͧ¤¡ÃÍÔÊÃÐμÒÁÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ
                                           องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญเปนหนวยงานของรัฐที่ตั้งขึ้นเพื่อทําหนาที่

              ตรวจสอบการใชอํานาจของรัฐธรรมนูญของรัฐบาล ดวยเหตุนี้องคกรอิสระตามรัฐธรรมนูญจึงเปน
              ฝายปกครองที่ไมอยูในบังคับบัญชาหรือกํากับดูแลของรัฐบาล ไดแก คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)

              ผูตรวจการแผนดิน คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการทุจริตแหงชาติ และคณะกรรมการ
              ตรวจเงินแผนดิน เชน การที่ กกต.อาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวย

              คณะกรรมการการเลือกตั้ง พ.ศ.๒๕๔๑ ออกระเบียบ กกต. วาดวย กกต.ประจําจังหวัดและผูอํานวยการ
              การเลือกตั้งประจําจังหวัด พ.ศ.๒๕๔๑ ยอมเปนการใชอํานาจทางปกครองในลักษณะของการออกกฎ

                                   ò.ñ.ô ͧ¤¡ÃÍ×è¹μÒÁÃѰ¸ÃÃÁ¹ÙÞ
                                           คําวา “องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ” ปรากฏขึ้นเปนครั้งแรกตาม

              รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หากพิจารณาจากหลักแบงแยกอํานาจจะพบวา
              องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญ ไดแก องคกรอัยการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และ

              สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นั้น มิใชองคกรที่ใชอํานาจนิติบัญญัติและมิใชองคกรที่ใช
              อํานาจตุลาการ จึงอาจกลาวไดวา องคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญเปนสวนหนึ่งขององคกรที่ใชอํานาจบริหาร
              เมื่อภารกิจขององคกรอื่นตามรัฐธรรมนูญมิใชการดําเนินงานในทางการเมือง ดวยเหตุนี้องคกรอื่นตาม

              รัฐธรรมนูญยอมเปนฝายปกครองไดเชนกัน แตทั้งนี้ตองพิจารณาลักษณะของการใชอํานาจประกอบดวย

              เชน คณะกรรมการอัยการ (ก.อ.) กระทําการโดยอาศัยอํานาจตามพระราชบัญญัติระเบียบขาราชการ
              ฝายอัยการ พ.ศ. ๒๕๕๓ ตองถือวา ก.อ.กระทําการในฐานะฝายปกครอง สวนกรณีที่พนักงานอัยการ
              จะทําการโดยอาศัยอํานาจตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญานั้น และการกระทําละเมิด

              อันเกิดจากการใชอํานาจดังกลาวจะเปนคดีที่อยูในเขตอํานาจของศาลยุติธรรม แตหากพิจารณา
              จากความหมายของฝายปกครองขางตนแลว ก็ถือไดวาพนักงานอัยการกระทําการในฐานะฝายปกครอง

              เชนกัน เพราะในขั้นตอนของการดําเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการอาจมีการกระทําทางปกครอง
              ปะปนอยูดวย
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32