Page 104 - การให้รหัสโรค
P. 104
93
ตัวอย่าง แพทย์บันทึกการวินิจฉัยหลักว่า Laceration wound โดยไม่ระบุตำแหน่ง หากผู้ให้รหัสไม่
ั
ค้นหาข้อมูลจากผลการตรวจร่างกายโดยแพทย์ ซึ่งบันทึกว่าผู้ป่วยมีแผลถูกฟนที่หลังส่วนล่าง อาจทำ
ให้ได้รหัสคุณภาพต่ำ ผู้ให้รหัสควรให้แพทย์ทบทวนการวินิจฉัยใหม่
DIAGNOSIS TYPE การวินิจฉัย รหัสที่ผิด รหัสที่ถูก
(1) PRINCIPAL DIAGNOSIS
DIAGNOSIS Laceration wound T14.1 Open wound S31.0 Open wound
of lower back and
of unspecified body
pelvis
region
(2) COMOBIDITY (S) - - -
(3) COMPLICATION (S) - - -
(4) OTHER DIAGNOSIS - - -
(5) EXTERNAL CAUSE OF INJURY - - - -
OPERATING ROOM PROCEDURES
-
OPERATION 1. -
2.
3.
ตัวอย่าง ผู้ป่วยหญิงตั้งครรภ์อายุ 30 สัปดาห์ มารับการรักษาเนื่องจากเป็น Fourth degree
hemorrhoids แพทย์บันทึกชื่อโรคนี้เป็นการวินิจฉัยหลัก หากผู้ให้รหัสไม่ตรวจสอบข้อมูลว่าผู้ป่วย
ตั้งครรภ์ อาจให้รหัสการวินิจฉัยหลักผิดได้
DIAGNOSIS TYPE Fourth degree K64.3 Fourth degree O22.4 Haemorrhoids
การวินิจฉัย
รหัสที่ผิด
รหัสที่ถูก
(1) PRINCIPAL DIAGNOSIS
DIAGNOSIS (2) COMOBIDITY (S) - haemorrhoids in pregnancy
hemorrhoids
K64.3 Fourth degree
-
haemorrhoids
(3) COMPLICATION (S) - - -
(4) OTHER DIAGNOSIS - - -
(5) EXTERNAL CAUSE OF INJURY - - - -
OPERATING ROOM PROCEDURES
-
OPERATION 1. -
2.
3.
การวินิจฉัยร่วม
การวินิจฉัยโรคร่วม (Comorbidity หรือ Pre-admission comorbidity) คือโรคที่ปรากฏอยู่
ร่วมกับโรคที่เป็นการวินิจฉัยหลัก และมีความรุนแรงมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงขึ้น หรือมี
การตรวจรักษาเพิ่มขึ้นระหว่างรับไว้ในโรงพยาบาลครั้งนี้ ใช้เฉพาะกรณีผู้ป่วยนอกเท่านั้น
องค์ประกอบสำคัญของคำจำกัดความของการวินิจฉัยร่วม ได้แก ่
1. เป็นโรคที่เกิดขึ้นก่อนรับไว้รักษาในโรงพยาบาล มิใช่โรคที่เกิดขึ้นภายหลัง
2. เป็นโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรก เสี่ยงต่อ
การพการหรือเสียชีวิต อาจทำให้ต้องเพมการตรวจพเศษ เพมยาหรือเวชภัณฑ์ ต้องได้รับการดูแล
ิ่
ิ
ิ
ิ่
รักษาเพิ่มเติม
3. แพทย์สามารถบันทึกการวินิจฉัยร่วมได้มากกว่า 1 โรค โดยไม่จำกัดจำนวนสูงสุดที่บันทึก
ได้
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ