Page 105 - การให้รหัสโรค
P. 105
94
ี่
โรคทมักเป็นการวินิจฉัยร่วมได้แก่โรคเรื้อรังต่างๆ (Chronic diseases) เช่น เบาหวาน ความ
ดันโลหิตสูง ไตวายเรื้อรัง หัวใจขาดเลือด รวมทั้งโรคประจำตัวผู้ป่วย เช่น systemic lupus
erythematosus ในกรณีผู้ป่วยบาดเจ็บหลายตำแหน่งจะมีบาดแผลต่างๆ ที่มีความรุนแรงน้อยกว่า
บาดแผลหลักให้บันทึกเป็นการวินิจฉัยร่วม
โรคที่แพทย์บันทึกเป็นการวินิจฉัยร่วมในใบสรุปจำหน่วย ต้องมีการวินิจฉัยเป็นลายลักษณ์
ั
อกษรบันทึกไว้ในส่วนใดส่วนหนึ่งของเวชระเบียนในการรับไว้ครั้งนั้น ผู้ให้รหัสไม่สามารถนำผลการ
ื่
ิ
ตรวจเลือด การตรวจปัสสาวะ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ หรือการตรวจพเศษอนที่ไม่ใช่คำ
วินิจฉัยโรคของแพทย์มีตีความเป็นการวินิจฉัยร่วมโดยพลการได้ หากสงสัยว่าผู้ป่วยจะมีการวินิจฉัยอื่น
ที่แพทย์มิได้สรุปควรส่งเวชระเบียนให้แพทย์ทบทวนการสรุปเพิ่มเติมกอนให้รหัส
่
Underlying diseases หมายถึง โรคที่เป็นอยู่เดิมของผู้ป่วยและปรากฏหลักฐานว่ายังคง
เป็นอยู่ในการรับไว้ครั้งนี้ แพทย์ต้องบันทึกเป็นคำวินิจฉัยเสียก่อนจึงจะนำมาบันทึกเป็นการวินิจฉัย
ร่วมในใบสรุปจำหน่วยได้ ตัวอย่าง Common comorbid diseases ได้แก ่
Chronic diseases
- Type 2 diabetes mellitus
- Chronic kidney disease
- Rheumatoid arthritis
- Ischaemic heart disease
- Systemic lupus erythematosus
Multiple injuries
- Abrasion wound
- Laceration wounds
- Contusions
- Fracture of phalanx of fingers or toes
- Fracture of metacarpals or metatarsals
- Tear of tendons, muscles or vessels of extremities
ตัวอย่าง A ผู้ป่วยอายุ 30 ปี รับไว้ในโรงพยาบาลด้วยโรค Chronic hepatitis B เพอทำ Liver
ื่
biopsy ประวัติอดีตเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 มานาน 3 ปี รักษาโดยการควบคุมอาหาร ไม่ได้ให้ยาใดๆ
ระดับน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปกติ
DIAGNOSIS TYPE
(1) PRINCIPAL DIAGNOSIS
Chronic hepatitis B
DIAGNOSIS (2) COMOBIDITY (S) Type 2 diabetes mellitus without complication
(3) COMPLICATION (S)
-
(4) OTHER DIAGNOSIS -
(5) EXTERNAL CAUSE OF INJURY -
OPERATING ROOM PROCEDURES
OPERATION 1.
2.
3.
HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ