Page 106 - การให้รหัสโรค
P. 106

95




                      ตัวอย่างที่ B ผู้ป่วยอายุ 40 ปี รับไว้ในโรงพยาบาลด้วยอาการไอ หอบ วินิจฉัยว่าเป็น pneumonia
                      due to streptococcal pneumonia ประวัติอดีตเคยเป็น idiopathic thrombocytopenic
                      purpura เมื่อ 15 ปีก่อน รักษาด้วย steroid อยู่ 1 ปี ปัจจุบันหยุดยาแล้ว เกล็ดเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ

                                                          DIAGNOSIS TYPE
                            (1) PRINCIPAL DIAGNOSIS
                         DIAGNOSIS   (2) COMOBIDITY (S)                                        Pneumonia due to streptococcal pneumonia
                                                                                  -
                            (3) COMPLICATION (S)
                                                                                  -
                            (4) OTHER DIAGNOSIS                                      -
                            (5) EXTERNAL CAUSE OF INJURY                          -
                            OPERATING ROOM PROCEDURES
                         OPERATION   1.

                            2.
                            3.

                             ในตัวอย่างที่ A โรคเบาหวานเป็นการวินิจฉัยร่วมเนื่องจาก
                             1. เป็นโรคที่เกิดขึ้นก่อนรับไว้รักษาในโรงพยาบาล

                             2. เป็นโรคที่มีความรุนแรงมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรก เสี่ยงต่อ
                           ิ
                      การพการหรือเสียชีวิต แม้ว่าขณะนี้ควบคุมได้ดี แต่เมื่อผู้ป่วยมีภาวะ Stress หรือมีภาวะแทรกซ้อน
                      จากการทำหัตถการ จะทำให้เกิดโรคแทรกเฉียบพลันจากโรคเบาหวานได้ เช่น Hyperosmolar
                      coma

                             ในตัวอย่างที่ B โรค Idiopathic thrombocytopenic purpura (ITP) เป็นโรคที่หายแล้ว ไม่
                      มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรก ไม่เสี่ยงต่อการพิการหรือเสียชีวิต ไม่เข้าเกณฑ์เป็นการวินิจฉัยร่วม

                             โรคแทรก

                             โรคแทรก (Complication หรือ Post- admission comorbidity) คือ โรคที่ไม่ปรากฏ
                      ร่วมกับโรคที่เป็นการวินิจฉัยหลักตั้งแต่แรก แต่เกิดขึ้นหลังจากผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
                      แล้ว และมีความรุนแรงมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงสูงขึ้นหรือมีการตรวจรักษาเพิ่มขึ้นระหว่าง

                      รับไว้ในโรงพยาบาลครั้งนี้ ใช้เฉพาะกรณีผู้ป่วยในเท่านั้น
                             องค์ประกอบสำคัญของคำจำกัดความของโรคแทรก ได้แก   ่
                             1. เป็นโรคที่เกิดขึ้นหลังจากรับไว้ในโรงพยาบาล มิใช่โรคที่เกิดขึ้นก่อนรับไว้ในโรงพยาบาล
                                                                                                      ิ
                             2. เป็นที่รุนแรงมากพอที่จะทำให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคแทรก เสี่ยงต่อการพการ
                      หรือเสียชีวิต อาจทำให้ต้องเพิ่มการตรวจพิเศษเพิ่ม ยาหรือเวชภัณฑ์ ต้องได้รับการดูแลรักษาเพิ่มเติม

                                                                                           ่
                                                                                                     ั
                                                                 ี่
                             3. โรคแทรกอาจเป็นโรคต่างระบบกับโรคทเป็นการวินิจฉัยหลัก และอาจไมเกี่ยวเนื่องกบการ
                      วินิจฉัยหลัก
                             4. แพทย์สามารถบันทึกโรคแทรกได้มากกว่า 1 โรค โดยไม่จำกัดจำนวนสูงสุดที่บันทึกได้
                             โรคแทรกมักเป็นโรคที่เกิดขนอย่างเฉียบพลันในโรงพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยได้รับความเดือดร้อน
                                                    ึ้
                                                                                                       ้
                      มากขึ้น เช่น โรคติดเชื้อต่างๆ หลอดเลือดอดตันเฉียบพลัน กล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน แพยา
                                                            ุ
                      รวมทั้งผลข้างเคียงที่เกิดจากการรักษาหรือผ่าตัด ตัวอย่างเช่น
                             โรคเฉียบพลัน (Acute diseases)

                                 -  Surgical wound infection




                         HM 4633 การให้รหัสโรค ดร.อมรรัตน์ ลือนาม คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111