Page 101 - New โครงการ งานจักรยานยนต์
P. 101
98
6.4 กำรระบำยควำมร้อนด้วยน้ ำและพัดลมไฟฟ้ำ
6.4.1 กำรระบำยควำมร้อนด้วยน้ ำและด้วยน้ ำมันเครื่อง
1. ระบำยควำมร้อนด้วยน้ ำ (Water Cooling)
ถึงแม้ว่าจักรยานยนต์ส่วนมากจะระบาย ความร้อนด้วยอากาศ แต่ก็มีจักรยานยนต์
บางรุ่น ที่ใช้ระบบระบายความร้อนด้วยน้ า (Water Cooling) โดยเฉพาะจักรยานยนต์
ขนาดใหญ่ 150 ซีซี ขึ้นไป เพราะในจักรยานยนต์ขนาดใหญ่มีความ ร้อนส่วนเกินสูงมาก
การระบายความร้อนด้วย อากาศไม่เพียงพอและไม่ทั่วถึง จ าเป็นจะต้องใช้ น้ าซึ่งสามารถ
ระบายความร้อนได้ดีกว่าอากาศ และยังลดเสียงดังได้อีกด้วย
การระบายความร้อนด้วยน้ า ควบคุมให้น้ าไหลเวียนผ่านเครื่องยนต์ และน าความร้อน
ออกไป โดยมีปั๊มน้ าท าหน้าที่ หมุนเวียนนเช่น เดียวกับการระบายความร้อนด้วยน้ าของ
เครื่องยนต์รถยนต์
หม้อน้ าของจักรยานยนต์ติดตั้งอยู่ตรง หน้าเครื่องยนต์ นร้อนส่งออกจากเครื่องยนต์ เข้าถัง
ส่วนบน แล้วไหลผ่านรังผึ้งลงสู่ส่วนล่าง โดยมีวาล์วน้ า (Thermo Stat) ขวางทางน้ า
ไหลเวียนเพื่อให้เครื่องยนต์ร้อนถึงอุณหภูมิใช้งานได้เร็วและรักษาอุณหภูมิเครื่องยนต์ให้คงที่
2. กำรระบำยควำมร้อนด้วยน้ ำมันเครื่อง
การระบายความร้อนด้วยน้ ามันเครื่อง (Oil Cooling) ในเครื่องยนต์ โดยจ่าย
น้ ามันเครื่อง ไปยังส่วนบนของห้องเผาไหม้และฝาสูบ ซึ่งมีความร้อนสูง เพื่อท าให้ความร้อน
ของเครื่องยนต์ลดลง เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายความร้อนภายในเครื่องยนต์
6.4.2 พัดลมไฟฟ้ำระบำยควำมร้อนเครื่องยนต์
1. หน้ำที่พัดลมไฟฟ้ำ
จักรยานยนต์ขนาด 125 ซีซี. เพิ่มประสิทธิภาพการระบายความร้อนด้วยพัดลม
ไฟฟ้าเพื่อรักษา อุณหภูมิของเครื่องยนต์ให้ได้อุณหภูมิท างาน โดยท างานร่วมกับวาล์วน้ า
(Thermo Stat) โดยพัดลมไฟฟ้าจะ ดูดอากาศผ่านรังผึ้งหม้อน้ า เพื่อระบายความร้อนออก
จากน้ าหล่อเย็น เมื่ออุณหภูมิของน้ าหล่อเย็นลดลง สวิตช์พัดลมจะตัดการท างานของพัดลม
โดยอัตโนมัติ