Page 134 - จราจร
P. 134

๑๒๗




                                         ¡ÒûÃѺ»Ãاᡌ䢷ÕèäÁ‹à¾Õ§¾Í นั่นคือ การไมทําการปรับปรุงแกไข
                 ใหเกิดความปลอดภัยในระดับที่เหมาะสม

                                         ¡ÒûÃѺ»Ãاᡌ䢷ÕèäÁ‹àËÁÒÐÊÁ นั่นคือ การใชวิธีการปรับปรุงแกไขที่ไม
                 ถูกตองหรือไมเหมาะสมกับสภาพที่เปนอยูในปจจุบัน
                                         ¡ÒûÃѺ»Ãاᡌ䢷ÕèÁÒ¡à¡Ô¹ä»  นั่นคือ การใชมาตรการปรับปรุงแกไข

                 มากขึ้นโดยมุงหมายที่จะใหเกิดความปลอดภัยมากขึ้น ทําใหปญหาในลักษณะเดียวกันที่ไดรับการแกไข
                 ดวยมาตรการในระดับที่เหมาะสมไปแลว อาจถูกลดระดับความปลอดภัยลง (พิชัย ธ., ๒๕๕๖)

                             ó. ÁÒμáÒÃà¾×èͤÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ
                                  ในประเทศไทยไดมีการกําหนดมาตรการเพื่อความปลอดภัยในการใชรถใชถนน
                 ออกมาหลายมาตรการซึ่งสามารถจําแนกเปนกลุมไดเปน ๓ กลุมสําคัญ ไดแก มาตรการควบคุมสภาพรถ

                 มาตรการควบคุมคุณสมบัติของผูขับขี่ และมาตรการควบคุมพฤติกรรมการขับขี่
                                  มาตรการควบคุมสภาพรถ เปนงานในความรับผิดชอบหลักของกรมการขนสง

                 ทางบก โดยเจาหนาที่ตํารวจมีสวนรวมในการตรวจสอบผูขับขี่ที่นํารถมาใชวาไดบํารุงรักษาสภาพรถ
                 และปฏิบัติตามมาตรการดังกลาวหรือไม ทั้งนี้ ตาม พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.๒๕๒๒ มาตรา ๖
                 “หามมิใหผูใดนํารถที่มีสภาพไมมั่นคงแข็งแรง หรืออาจเกิดอันตราย หรืออาจทําใหเสื่อมเสียสุขภาพ

                 อนามัยแกผูใช คนโดยสารหรือประชาชนมาใชในทางเดินรถ มาตรการในการจดทะเบียนรถ” ซึ่งไดให
                 อํานาจเจาหนาที่ตํารวจไว

                                  ตัวอยางมาตรการเพื่อความปลอดภัยในการควบคุมสภาพรถ เชน
                                  • การบังคับใหรถที่ใชในทางทุกคันตองจดทะเบียน – เพื่อใหมีการตรวจสอบ
                 มาตรฐานความปลอดภัยกอน

                                  • การใหรถตามเงื่อนไขตรวจสภาพประจําปกอนชําระภาษี – รถที่อยูในขายตอง
                 ตรวจสภาพรถกอนเสียภาษีประจําป

                                     ๑)  รถตามกฎหมายวาดวยการขนสงทางบกทุกประเภท โดยไมจํากัดอายุ
                 การใชงาน
                                     ๒)  รถตามกฎหมายวาดวยรถยนต ตามประเภทรถดังนี้

                                         - รถยนตนั่งสวนบุคคลไมเกิน ๗ คน ที่มีอายุใชงานครบ ๗ ป ขึ้นไป
                                         - รถยนตนั่งสวนบุคคลเกิน ๗ คน ที่มีอายุใชงานครบ ๗ ป ขึ้นไป

                                         - รถยนตบรรทุกสวนบุคคล ที่มีอายุใชงานครบ ๗ ป ขึ้นไป
                                         - รถจักรยานยนต ที่มีอายุใชงานครบ ๕ ป ขึ้นไป
                                  • มาตรฐานสินคาอุตสาหกรรมอะไหลรถยนต – อะไหลและชิ้นสวนรถยนต

                 บางจําพวกถูกกําหนดใหเปนสินคาที่ตองไดรับมาตรฐานสินคาอุตสาหกรรม หรือ มอก. เพื่อควบคุม
                 คุณภาพในการผลิต

                                  • ขอบังคับใหรถยนตและรถตูโดยสารมีเข็มขัดนิรภัย
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139