Page 130 - จราจร
P. 130

๑๒๓



                                                                   ñ
                 ó.ò ¡ÒÃá¡Œä¢áÅл‡Í§¡Ñ¹ÍغÑμÔàËμØ·Ò§¶¹¹
                             คนไทยหลายคนอาจมีความเชื่อวาอุบัติเหตุจราจรเปนเรื่องของโชครายที่ไมอาจปองกัน

                 หรือแกไขได แตเมื่อไดมีการศึกษาในเชิงลึกจะพบวาอุบัติเหตุแตละครั้งนั้นมีสาเหตุที่ระบุไดชัดเจนวา
                 เกิดจากปจจัยใด ไดแก ปจจัยจากผูขับขี่ รถยนต สภาพถนน หรือ สิ่งแวดลอม ดังนั้น อุบัติเหตุจึงเปน
                 ปญหาที่สามารถแกไขไดดวยการตัดปจจัยตาง ๆ ที่นําไปสูอุบัติเหตุนั่นเอง
                             ปญหาอุบัติเหตุจราจร (road accidents) ในประเทศไทยแตกตางจากประเทศอื่น ๆ

                 เนื่องจากพฤติกรรมการขับขี่และวัฒนธรรมความปลอดภัยในการขับขี่ของคนไทยมีความเฉพาะตัว
                 ดังนั้น จึงไมสามารถนําแนวทางการแกปญหาอุบัติเหตุของตางชาติมาใชในประเทศไดทั้งหมด แมจะมี

                 หลักการในการแกปญหาเดียวกัน แตในรายละเอียดและการปฏิบัติจริงแลวจําเปนที่จะตองมีการศึกษา
                 วิเคราะหวิจัยเพื่อหาแนวทางการแกไขปญหาอยางถูกตองไมใหเกิดการสูญเสียที่ซํ้าซาก โดยเฉพาะ
                 จุดที่มีอุบัติเหตุที่มีการเสียชีวิตจํานวนมากควรไดรับการแกไข นําไปสูความปลอดภัยทางถนนที่ยั่งยืน
                 สําหรับสังคมไทย

                             มาตรการเพื่อความปลอดภัยและการแกไขจุดเสี่ยง
                             การแกไขปญหาความปลอดภัยทางถนนไมสามารถทําใหอุบัติเหตุหายไปหรือหมดไปได

                 เพราะสาเหตุอุบัติเหตุจราจรสวนใหญมาจากความผิดพลาดของมนุษย การปรับปรุงสภาพถนนที่เปน
                 จุดเสี่ยงจึงเปนการลดโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุหรือลดความรุนแรงจากอุบัติเหตุลงเมื่อมีอุบัติเหตุเกิดขึ้น
                             ๑.  การเพิ่มความปลอดภัย
                                  บริเวณที่มีการเกิดอุบัติเหตุบอยครั้งนั้น อาจมีสาเหตุมาจากสภาพถนนที่ไมดี

                 มีปริมาณการจราจรที่ผานบริเวณนั้นจํานวนมาก  หรือเปนเหตุบังเอิญที่มีอุบัติเหตุจํานวนมากเกิดขึ้น
                 ในบริเวณเดียวกันก็ได ดังนั้น กอนที่จะทําการปรับปรุงและแกไขจุดเสี่ยง จึงจําเปนตองวิเคราะหถึง

                 สาเหตุของอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นในลักษณะที่ซํ้าหรือคลายกัน เมื่อสามารถทราบสาเหตุดังกลาวแลวจึงจะ
                 ออกมาตรการปองกันและแกไขสาเหตุนั้น
                                  การปรับปรุงความปลอดภัยทางถนนสามารถทําไดดวยการปองกันสาเหตุ
                 ที่นําไปสูการเกิดอุบัติเหตุหรือความรุนแรงจากอุบัติเหตุของแตละบริเวณที่เปนจุดเสี่ยง ซึ่งแยกตาม

                 องคประกอบการเกิดอุบัติเหตุไดดังนี้
                                  ๑)  การแกไขจุดเสี่ยง (การปรับปรุงสภาพถนนและสิ่งแวดลอม)

                                  ๒)  มาตรการเพื่อความปลอดภัย (มาตรการบังคับที่อาจเกี่ยวของกับคน รถ
                 หรือ ถนน)
                                  ๓)  การลดพฤติกรรมเสี่ยง (การบังคับใชกฎหมายเพื่อความปลอดภัยและการให

                 ความรู) เมื่อพิจารณากระบวนการทั้งสามประเภท จะพบวาเปนการทํางานอยูบนปจจัยของอุบัติเหตุ
                 ทั้งสาม ไดแก สภาพถนนและสิ่งแวดลอม รถหรือยานพาหนะอื่น และคน  โดยเฉพาะในสวนของ
                 คนนี้ เจาหนาที่ตํารวจจะมีหนาที่เกี่ยวของโดยตรงในการบังคับใชกฎหมายซึ่งเปนมาตรการเชิงบังคับ

                 ขณะเดียวกัน หากสามารถทําการใชความรูเกี่ยวกับความปลอดภัยซึ่งเปนมาตรการเชิงจูงใจควบคูได
                 ก็จะทําใหการลดพฤติกรรมเสี่ยงประสบความสําเร็จและไดรับความรวมมือจากประชาชนผูใชรถใชถนน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135