Page 131 - จราจร
P. 131

๑๒๔




                          ๒.  การปรับปรุงสภาพถนนและสิ่งแวดลอม
                               การปรับปรุงสภาพถนนและสิ่งแวดลอมนี้ เปนมาตรการดานวิศวกรรม (Engineering)

              ที่มุงผลโดยตรงตอสภาพถนนซึ่งเปนหนึ่งในสามของปจจัยการเกิดอุบัติเหตุ การปรับปรุงสภาพถนน
              ทําไดหลากหลายวิธีตั้งแตการดําเนินการขนาดเล็ก เชน ติดปายเครื่องหมายจราจร การปดกลับรถจุดที่
              อันตราย การตัดตนไมขางที่บดบังบริเวณทางแยก เปนตน หรืออาจเปนการดําเนินการขนาดใหญ เชน

              การติดตั้งไฟสองสวาง การติดตั้งสัญญาณไฟจราจร การทําสะพานกลับรถ และการขยายถนน เปนตน

                               สภาพแวดลอมของถนนที่ปลอดภัย (Safe Road Environment)
                               โดยปกติ ผูขับขี่และผูใชถนนอื่นๆ จะตองรับรู (Perceive) และทําความเขาใจกับ
              ขอมูลที่ไดรับมา (Process) เพื่อตัดสินใจ (Make Decisions) และกระทําการใดๆ ภายในชวงเวลาที่

              จํากัด หากผูขับขี่สามารถดําเนินการตามกระบวนการเหลานั้นไดอยางถูกตองและเหมาะสม โดยไมเกิด
              ความเครียดจากการที่ไมสามารถตัดสินใจได ก็จะทําใหเกิดสภาพการขับขี่ที่สะดวกสบายและปลอดภัย

              ประเด็นนี้เปนสวนประกอบที่สําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาและรักษาสภาพแวดลอมของถนนใหมี
              ความปลอดภัย
                               ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§¶¹¹·Õè»ÅÍ´ÀÑ ¤ÇèÐÁդسÅѡɳдѧμ‹Í仹Õé

                               ๑)  àμ×͹ (WARN) ผูขับขี่ใหทราบถึงสภาพและลักษณะของถนนที่ตํ่ากวามาตรฐาน
              หรือมีความแตกตางไปจากบริเวณที่กําลังขับขี่

                               ๒)  ºÍ¡ (INFORM) ผูขับขี่ถึงสภาพถนนขางหนา
                               ๓)  นํา·Ò§ (GUIDE) ผูขับขี่ไดอยางถูกตองเหมาะสมและปลอดภัย

                               ๔)  ¤Çº¤ØÁ (CONTROL) แนวการสัญจรของผูขับขี่ผานจุดหรือชวงถนนที่มีการ
              ขัดแยงของกระแสจราจรตางๆ ไดอยางปลอดภัย

                               ๕)  ãËŒÍÀÑ  (FORGIVE) ผูขับขี่ที่เกิดความผิดพลาดในการควบคุมรถหรือมี
              พฤติกรรมการขับขี่ที่ไมเหมาะสม (พิชัย ธ.,๒๕๕๖)
                               การปรับปรุงสภาพถนนนี้สามารถทําไดกอนและหลังเกิดเหตุ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับกระบวนการ

              ที่ทําใหตรวจพบความบกพรองของถนนในบริเวณนั้น ซึ่งที่มาของการตรวจพบความบกพรองของถนน
              สามารถแบงไดเปน ๓ แนวทาง ไดแก

                               ๑)  การตรวจสอบถนน (Road Inspection) ไดแก การออกตรวจถนนเพื่อซอมบํารุง
              ตามปกติซึ่งจะทําใหไดขอมูลความบกพรองของถนนกอนที่มีอุบัติเหตุเกิดขึ้น ทั้งนี้การตรวจสอบถนน
              จะเปนงานในความรับผิดชอบของหนวยงานผูรับผิดชอบถนนซึ่งตองทําเปนประจําตามชวงระยะเวลา

              ที่กําหนด
                               ๒)  การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน (Road Safety Audit) ไดแก การตรวจ

              ถนนชวงใดชวงหนึ่งในขั้นตอนการออกแบบ การกอสราง หรือหลังจากเปดใชถนนแลว ซึ่งการตรวจสอบ
              ความปลอดภัยทางถนนจะดําเนินการโดยผูเชี่ยวชาญโดยเฉพาะและมีกระบวนการที่เปนทางการ

              เพื่อนําไปสูการปองกันอุบัติเหตุกอนที่อุบัติเหตุจะเกิดขึ้น (รายละเอียดตาม บทที่ ๖)
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136