Page 164 - จราจร
P. 164
๑๕๗
- หากสงสัยมีการหลบหนี เจาหนาที่ผูปลอยรถออกสูถนน จะตองสอบถามผูตรวจวา
รถคันนี้ตรวจสอบเสร็จแลวหรือไม โดยสื่อสารทางวิทยุกันตลอดเวลา
- หากพบผูกระทําผิดอาจจะออกใบสั่งหรือวากลาวตักเตือน การวากลาวตักเตือน
ไมใชเรื่องที่ไมควรทํา อาจจะทําไดหากผูขับขี่ขาดเจตนา นาเชื่อวาจะปรับปรุงตัวได ไมจําเปนวาจะตอง
เอาผลคดีไปเสียทั้งหมด
- การตั้งโตะปรับเปนผลดี ไมใชขอเสียหาย
- ระยะเวลาในการตั้งจุดตรวจไมควรนานเกินไป ตองคํานึงถึงเจาหนาที่ผูปฏิบัติ
วามีความเหนื่อยลาหรือยัง หากเจาหนาที่เหนื่อยแลว อาจจัดชุดไปสลับเปลี่ยน หรือหยุดตรวจไปเลย
และไมควรมีคําสั่งตั้งจุดตรวจ ๒๔ ชม. เต็มที่สําหรับจุดตรวจแบบนี้ไมควรเกิน ๔ ชม.
๒.๓ จุดตรวจแบบที่ ๓ “แบบในเมือง”
จุดตรวจแบบนี้มักจะเปนขนาดเล็กที่ใชในเขตเมืองของนครบาลหรืออําเภอใหญ
ของตํารวจภูธร ที่อาจมีรถหนาแนนและรถติดขัด วิ่งไดชา ซึ่งแตเดิมมักจะมีกําลังเจาหนาที่ยืนอยู
ริมถนนเรียกรถระหวาง ๔ - ๕ คน ไมมีเครื่องมือในเรื่องความปลอดภัย เรียกรถใหจอดขางทางแลว
แยกกันตรวจ ทั้งนี้โดยควรที่จะตองเปลี่ยนแปลงวิธีการตรวจแบบนี้ใหเกิดความปลอดภัยเพิ่มขึ้น ไดแก
การเพิ่มปายเตือนระหวางระยะ ๑๐ - ๓๐ เมตร เพื่อใหผูขับขี่เตรียมตัวหยุดรถ ซึ่งเวนระยะทางไว
ไมมากนักเพราะรถวิ่งดวยความเร็วตํ่าอยูแลว พรอมกันนั้นก็เพิ่มใหมีวางกรวยยาง และการจอดรถ
จักรยานยนตเพื่อเปนกําแพงความปลอดภัยดวย
รถจักรยานยนตที่เปนกําแพงความปลอดภัยนี้ ยังอาจใชเปนรถติดตาม
รถหลบหนีดวย โดยใหนํารถจักรยานยนตเจาหนาที่ที่มีหลายคันมาจอดเปนกําแพงความปลอดภัยรวมกัน
หากเปนเวลากลางคืนควรจะตองมีไฟฉาย กระบองแสงสวางและเจาหนาที่ควรสวมเสื้อสะทอนแสง
ทุกคน การตรวจแบบนี้หากมีรถยนต ก็ใหใชเปนกําแพงกั้นเขตปลอดภัยแทนรถจักรยานยนต
การตั้งจุดตรวจแบบนี้อาจพิจารณารูปแบบได ตามภาพที่ ๓